DSpace at Bangkok University >
Graduate School >
Master Degree >
Independent Studies - Master >
Please use this identifier to cite or link to this item:
http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/3401
|
Title: | ความคาดหวังตัวสินค้า ภาพลักษณ์ตราสินค้าและความภักดีในตราสินค้า ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจ ซื้อนาฬิกาอัจฉริยะในเขตกรุงเทพมหานคร |
Other Titles: | Brand Expectation Brand Image and Brand Loyalty that Influenced Purchase decision on smartwatch in Bangkok |
Authors: | จตุพร สุขศรี |
Keywords: | ความคาดหวัง ภาพลักษณ์สินค้า ความภักดี การตัดสินใจซื้อ นาฬิกาอัจฉริยะ |
Issue Date: | 2561 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยกรุงเทพ |
Abstract: | วัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อ (1) เพื่อวิเคราะห์ อิทธิพลของ ความคาดหวังตัวสินค้า ภาพลักษณ์ตราสินค้า ความภักดีในตราสินค้า ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อนาฬิกาอัจฉริยะ (สมาร์ทวอทช์) (2) เพื่อวิเคราะห์ถึงความแตกต่างของอิทธิพลระหว่าง ความคาดหวังตัวสินค้า ภาพลักษณ์ตราสินค้าและความภักดีในตราสินค้า ในการส่งผลต่อ การตัดสินใจซื้อนาฬิกาอัจฉริยะ (สมาร์ทวอทช์) โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ประชาชนที่อาศัยในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 200 ตัวอย่าง ค่าความเชื่อถือ ของแบบสอบถามเท่ากับ 0.762 และ มีการตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น คือ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิง อ้างอิงที่ใช้ในการทดสอบสมมุติฐานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือการวิเคราะห์ความ ถดถอยเชิงพหุ ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ พบว่า ความคาดหวังตัวสินค้า ภาพลักษณ์ตราสินค้า ความภักดีในตราสินค้า ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อนาฬิกาอัจฉริยะอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ตามลำดับ The objectives of this study were to (1) to analyze the influence of product expectations, brand image, brand loyalty on buying intention of a smart watch. (2) to analyze the differences of influences among product expectation brand image and brand loyalty on buying intention of smartwatch the questionnaire was used as a tool to collect data. The samples used in the research were residents living in the Bangkok district. The value of reliability of the questionnaire was 0.762. In addition, the content reliability was viewed by the expertise. The descriptive statistics: frequency, percentage, mean, standard deviation, and statistic. The hypothesis was statistically the influential multiple regression analysis was applied. The results of the study were showed that product expectation, brand image, and brand loyalty differently affected buying intention of the smartwatch respectively at the significant level of 0.05 |
Description: | การค้นคว้าอิสระ (บธ.ม.) -- บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2560 |
Subjects: | ชื่อตราผลิตภัณฑ์ ความภักดีต่อชื่อตราผลิตภัณฑ์ นาฬิกา -- การตัดสินใจ การเลือกชื่อตราผลิตภัณฑ์ นาฬิกา -- การจัดซื้อ |
Advisor(s): | เกษมสันต์ พิพัฒน์ศิริศักดิ์ |
URI: | http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/3401 |
Appears in Collections: | Independent Studies - Master Independent Studies
|
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.
|