DSpace
 

DSpace at Bangkok University >
Cluster of Business & Management >
School of Business Administration >
Master Degree >
Independent Studies >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/431

Title: การรับรู้ภาพลักษณ์สินค้าที่ส่งผลต่อค่านิยมในการเลือกใช้เครื่องปรุงอาหารไทยสำเร็จรูปของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร
Other Titles: A Study of the Influence of Brand Image Perception on Consumer Popularity in Using Thai Ready-Made Ingredients in Bangkok
Authors: วิภาวี ทั่วจบ
Keywords: การรับรู้
ภาพลักษณ์สินค้า
ค่านิยม
เครื่องปรุง
อาหารไทยสำเร็จรูป
Issue Date: 2555
Publisher: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Abstract: การศึกษาฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการรับรู้ภาพลักษณ์สินค้าและค่านิยมใน การเลือกใช้เครื่องปรุงอาหารไทยสาเร็จรูปของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและเพื่อศึกษาการ รับรู้ภาพลักษณ์สินค้าที่ส่งผลต่อค่านิยมในการเลือกใช้เครื่องปรุงอาหารไทยสาเร็จรูปของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานคร ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษามาจากประชากรที่เป็นผู้บริโภคที่เคยใช้ หรือรู้จัก สินค้าเครื่องปรุงอาหารไทยสาเร็จรูป ที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง แบบสะดวก จานวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแบบสอบถามที่มีค่าความเชื่อถือได้ เท่ากับ .958 และมีการตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น คือ สถิติเชิงพรรณนาได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ สถิติเชิงอ้างอิง ที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน คือ สูตรสมการความถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression) ผลการศึกษาพบว่า 1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ6 2.50 อายุระหว่าง 25 – 34 ปี ร้อยละ 77.50 ระดับการศึกษาสูงสุดปริญญาตรี ร้อยละ7 2.50 สถานภาพสมรส โสด ร้อยละ7 9.50 ประกอบ อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน ร้อยละ7 9.25 และมีรายได้ต่อเดือนระหว่าง1 5,001 – 20,000 บาท รอ้ ยละ 30.75 2) การรับรู้ภาพลักษณ์สินค้าเครื่องปรุงอาหารไทยสาเร็จรูปในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีการรับรู้ระดับมาก ในด้านบุคลิกภาพของสินค้า เป็นอันดับแรก รองลงมา ด้านคุณสมบัติ ด้านผู้ใช้ ด้านคุณค่า ด้านวัฒนธรรม ตามลาดับ และมีการ รับรู้ระดับปานกลางในด้านคุณประโยชน์ 3) ค่านิยมในการเลือกใช้เครื่องปรุงอาหารไทยสาเร็จรูปของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีค่านิยมในระดับมาก ได้แก่ การใช้เครื่องปรุงอาหารสาเร็จรูปทาให้มีเวลามากขึ้น และมีค่านิยมในระดับปานกลาง ได้แก่ ใช้เครื่องปรุงอาหารไทยสาเร็จรูปเพราะทาให้อาหารมีรสชาติเป็นที่ชื่นชอบต่อคนรอบข้าง ใช้เครื่องปรุงอาหารไทยสาเร็จรูปเพราะมีความมั่นใจในความปลอดภัยของ เครื่องปรุงอาหารไทยสาเร็จรูป ใช้เครื่องปรุงอาหารไทยสาเร็จรูปเพราะทาให้อาหารน่ารับประทาน ยิ่งขึ้น และคิดว่าการใช้เครื่องปรุงอาหารสาเร็จรูปแสดงถึงความทันสมัย ตามลาดับ 4) ผลการทดสอบสมมติฐาน การรับรู้ภาพลักษณ์สินค้าส่งผลต่อค่านิยมในการใช้เครื่องปรุงอาหารไทยสาเร็จรูปของ ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครในภาพรวม คิดเป็นร้อยละ 46.00 ด้านการใช้เครื่องปรุงอาหาร สาเร็จรูปทาให้มีเวลามากขึ้น คิดเป็นร้อยละ 26.70 ด้านการใช้เครื่องปรุงอาหารสาเร็จรูปแสดงถึง ความทันสมัย คิดเป็นร้อยละ 27.40 ด้านการใช้เครื่องปรุงอาหารสาเร็จรูปเพราะทาให้อาหารน่า รับประทานยิ่งขึ้น คิดเป็นร้อยละ 29.90 ด้านการใช้เครื่องปรุงอาหารสาเร็จรูปเพราะมีความมั่นใจใน ความปลอดภัยของเครื่องปรุงอาหารสาเร็จรูป คิดเป็นร้อยละ 32.40 และด้านใช้เครื่องปรุงอาหาร สาเร็จรูปเพราะทาให้อาหารมีรสชาติเป็นที่ชื่นชอบต่อคนรอบข้าง คิดเป็นร้อยละ 31.20
The main objective of this research was to study the level of perception on brand image and popularity in selecting Thai ready-made ingredients among consumers in Bangkok. Another objective was to study the influence of brand image perception on consumer popularity in using Thai ready-made ingredients. Convenience sampling was used to select people residing in Bangkok who had used or known of Thai ready-made ingredients. Questionnaires, which had a reliability value of .958 and were tested for validity by experts in the field, were distributed to 400 participants. The statistical data analysis indicators used were descriptive statistics including percentage, mean, and standard deviation (S.D.), and inferential statistics including the Multiple Regression Analysis. The research revealed that: 1) Demographic data from the questionnaires and the results of the study revealed that Most participants were female (62.50%), aged 25-34 years old (77.50%), single (79.50%), company workers (79.25%), had a bachelor’s degree (72.50%), and a monthly income of THB15,001-20,000 (30.75%). 2) The overall perception on brand image of Thai ready-made ingredient products was at a high level. When considering each aspect, the participants’ perception of the product personality was at a high level and ranked the first, followed by their perception of the quality, user, value, and culture, respectively. The perception on the benefit was at a medium level. 3) The overall popularity in selecting the products among consumers in Bangkok was at a medium level. When considering each aspect, the reason ranked the highest was “It saved time”. The ones ranked in the medium level were “It made the food taste good and favored by other people,” “It was safe to use,” “It made the food look more appetizing,” and “It implied modernity”, respectively. 4) The result of the hypothesis testing showed that the overall influence of brand image perception on the consumer popularity in using the products was at 46.00%. The percentage of each aspect is as follows: “It saved time” (26.70%), “It implied modernity” (27.40%), “It made the food look more appetizing” (29.90%), “It was safe to use” (32.40%), and “It made the food taste good and favored by other people” (31.20%).
Description: การศึกษาเฉพาะบุคคล (บธ.ม.)--บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2553
Subjects: ความภักดีต่อชื่อตราผลิตภัณฑ์--ไทย--กรุงเทพฯ--การศึกษาเฉพาะกรณี
ความภักดีต่อชื่อตราผลิตภัณฑ์--การศึกษาเฉพาะกรณี
พฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--กรุงเทพฯ--การศึกษาเฉพาะกรณี
อาหารกึ่งสำเร็จรูป--การตลาด--การศึกษาเฉพาะกรณี
อาหารสำเร็จรูป--การตลาด--การศึกษาเฉพาะกรณี
Advisor(s): เกษมสันต์ พิพัฒน์ศิริศักดิ์
URI: http://dspace2.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/431
Appears in Collections:Independent Studies - Master
Independent Studies

Files in This Item:

File Description SizeFormat
vipa_tour.pdf3.58 MBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

  DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback