DSpace
 

DSpace at Bangkok University >
Graduate School >
Master Degree >
Independent Studies - Master >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/4885

Title: การสร้าง social commerce ผ่าน application “LINE” ในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 กรณีศึกษา บริษัท เพาเวอร์บาย จำกัด
Other Titles: The application of social commerce by “LINE” during the COVID-19 epidemic case study of Power Buy Company Limited
Authors: ทีปพิพัฒน์ จารุปาณฑุ
Keywords: Social Commerce
Line Application
ไวรัส COVID-19
Issue Date: 2564
Publisher: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การใช้ Line Application เพื่อการสร้างSocial Commerce ของบริษัทเพาเวอร์บาย จำกัด และ 2) รูปแบบของเนื้อหาและการเลือกหมวดหมู่สินค้าสำหรับการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายผ่าน Line Application ของบริษัทเพาเวอร์บาย จำกัด โดยอาศัยระเบียบวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research Method) ร่วมกัน 3 วิธีในการเก็บข้อมูล ได้แก่ การศึกษาเอกสาร การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม การสัมภาษณ์เชิงลึกกับพนักงานของบริษัท เพาเวอร์บาย จำกัด ที่ดูแลรับผิดชอบในส่วนงานที่เกี่ยวข้องทั้ง 3 ท่าน ได้แก่ ผู้จัดการฝ่ายการตลาดช่องทางใหม่ ผู้จัดการฝ่ายวางแผนการจัดจำหน่ายสินค้า ผู้ดูแลฝ่ายปฏิบัติการ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2564-31 พฤษภาคม 2564 ผลการศึกษาพบว่า 1) การใช้ Line Application เพื่อการสร้าง Social Commerce ของบริษัท เพาเวอร์บาย จำกัด นั้นต้องอาศัย และ 2 ปัจจัยที่สำคัญ ได้แก่ (1) การปรับปรุง Line Application Official Account เพื่อการเชื่อมโยงข้อมูลกับ Platform อื่นผ่าน Feature ที่เรียกว่า Rich Menu (2) การปรับปรุงระบบอื่นที่สำคัญได้แก่ระบบการชำระค่าสินค้าและบริการ E-Ordering รวมไปถึงการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในองค์กร 2) รูปแบบของเนื้อหาและการเลือกหมวดหมู่สินค้าสำหรับการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายผ่าน Line Application ของบริษัท เพาเวอร์บาย จำกัดได้แก่ การใช้ข้อมูลจากเครื่องมือวิเคราะห์ข้อมูล Line Official Account Manager มาประกอบในการสร้างสรรค์เนื้อหา โดยมีความแตกต่างกันระหว่างเนื้อหาที่ถูกกส่งออกมาจากบัญชีส่วนกลางและบัญชีของสาขา การนำข้อมูลพฤติกรรมของผู้บริโภคมาพิจารณาเพื่อคัดเลือกสินค้าสำหรับทำการจัดจำหน่ายตามช่วงเวลาที่เหมาะสม
The Objectives of this qualitative research were 1) to examine the usage of Line Application to create Social Commerce 2) to examine the content pattern and product selection for sale promotion. The research was done by conducting a documents analysis, Non-Participant Observation, In-depth Interview with 3 managers from Marketing, Trade Planning, Operation department from 1st January 2021-31 May 2021. The results of this study indicated that: 1) The Examination of how to apply line Application to create social commerce required 2 factors (1) The improvement of Line application for digital platform ecosystem creation with Rich Menu features and (2) The Improvement of other essential factors, payments system and staff development program and 2) The examination of content pattern and product selection for sale promotion required the data utilization from Line official account manager for the adaptation of corporate account and branches account content creation process and the consumer behavior analyzation for seasonal promotion production selection.
Description: การค้นคว้าอิสระ (นศ.ม.)--สาขาวิชาการสื่อสารการตลาดดิจิทัล บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2563
Subjects: บริษัท เพาเวอร์บาย จํากัด
เครื่องมือเครื่องใช้ไฟฟ้า
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
พฤติกรรมผู้บริโภค
การจัดการตลาด
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การตลาดอินเทอร์เน็ต
Advisor(s): ปฐมา สตะเวทิน
URI: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/4885
Appears in Collections:Independent Studies - Master

Files in This Item:

File Description SizeFormat
teeppipat.buam.pdf2.87 MBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

  DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback