DSpace
 

DSpace at Bangkok University >
Graduate School >
Master Degree >
Independent Studies - Master >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/2781

Title: การ์ตูนข่าว 4.0: ภาพสะท้อนสังคมในโลกยุคดิจิทัล
Other Titles: Cartoon 4.0: Social reflections in the digital age
Authors: อลงกต ตันเทอดทิตย์
Keywords: การ์ตูน
ดิจิทัล
Issue Date: 2560
Publisher: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Abstract: การ์ตูนได้ถูกใช้เป็นสื่อที่ให้ความสนุกสนาน กับผู้คน ด้วยความที่สามารถเข้าถึงได้โดยง่าย นักวาดการ์ตูนหรือที่เรียกว่าการ์ตูนนิสต์ ใช้การวาดการ์ตูนในการแสดงออกถึงความคิดเห็นของตน โดยเฉพาะความคิดเห็นเรื่องการเมือง ซึ่งปัจจุบันการ์ตูนการเมืองเป็นที่นิยมมาก ผู้วิจัยได้เลือกเรื่องการ์ตูนผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน ของชัย ราชวัตร เป็นการ์ตูนการเมืองที่ประจำอยู่ในคอลัมน์ของหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ในระยะเวลาตั้งแต่ 1 มิถุนายน – 31 สิงหาคม โดยมีเนื้อหาทั้งหมด 92 ตอน ในการวิเคราะห์ว่าเนื้อหาของการ์ตูนนั้นได้สะท้อนสังคมในโลกยุคดิจิทัลอย่างไร โดยจากการวิเคราะห์นั้นสามารถสรุปได้ดังนี้ 1) ช่องทางในการเปิดรับข่าวสารของผู้บริโภคได้เปลี่ยนแปลงไป 2) พฤติกรรมการถ่ายรูปสิ่งต่าง ๆ และแชร์ลงโซเชียลมีเดีย 3) การแสดงออกทางความคิดมากขึ้นผ่านช่องทางโซเชียล 4) การมาถึงของสังคมผู้สูงอายุ 5.ความเหลื่อมล้ำทางสังคม 6) ความเคลือบแคลงใจในระบบยุติธรรมของประเทศไทย 7) ความไม่มีระเบียบวินัยของคนในสังคม ซึ่งการศึกษาในครั้งนี้จะมีส่วนช่วยให้เกิดการสร้างแคมเปญที่เกี่ยวกับการสื่อสารในด้านของการสนับสนุน หรือเห็นต่าง ในการตั้งคำถามต่อการทำงานของรัฐบาล เจ้าหน้าที่รัฐ รวมถึงสื่อมวลชน ในแง่ของหน้าที่ และจรรยาบรรณของตน
Cartoons have played important roles to make people entertained and easy to digest. Self-reflection and self-representation of cartoonists also show a sense of art. Especially editorial political cartoons have become more popular nowadays. Cartoons, written by Chai Ratchawat in Thairath newspaper and published online between 1 June and 31 August 2017, were analyzed. There were 92 comic strips in total. During these three months, it was revealed that 92 comic strips were discovered. It failed into political news most. It was followed by social news and other types of news. There were four dimensions seen through the angle of Chai Ratchawat including (1) changes in media consumption, (2) behavior change, (3) a greater extent of opinion expression, (4) the emergence of aging society, (5) social inequality, (6) suspicion about justice in Thailand, and (7) indiscipline. This study recommends creating communication campaigns to encourage and discourage such behavior and making the government and mass media rethink their roles and responsibilities.
Description: การค้นคว้าอิสระ (นศ.ม.)--สาขาวิชาการสื่อสารการตลาดดิจิทัล บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2559
Subjects: การ์ตูนการเมือง
ล้อเลียนการเมือง
การเผยแพร่ข่าวสาร
สื่อสังคมออนไลน์
Advisor(s): ปฐมา สตะเวทิน
URI: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/2781
Appears in Collections:Independent Studies - Master

Files in This Item:

File Description SizeFormat
Alongkrot_Tant.pdf7.6 MBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

  DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback