DSpace
 

DSpace at Bangkok University >
Graduate School >
Master Degree >
Independent Studies - Master >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/2613

Title: การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับสื่อกับพฤติกรรมการเลียนแบบวัฒนธรรม ของวัยรุ่นไทยที่มีต่อซีรี่ส์ฮอร์โมน วัยว้าวุ่น ซีซั่น 3
Other Titles: The relative between media exposure and the imitation behavior of Thai teenage in culture effect on hormones the series season 3
Authors: ทิสาภรณ์ ชาลีมุ้ย
Keywords: พฤติกรรมการเลียนแบบ
ซีรีส์ ฮอร์โมน
Issue Date: 2560
Publisher: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Abstract: การวิจัยเรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับสื่อกับพฤติกรรมการเลียนแบบวัฒนธรรมของวัยรุ่นไทยที่มีต่อซีรี่ส์ฮอร์โมน วัยว้าวุ่น ซีซั่น 3 ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา พฤติกรรมการเลียนแบบวัฒนธรรม จากละครทางโทรทัศน์ ฮอร์โมน วัยว้าวุ่น ของวัยรุ่นไทยในเขตกรุงเทพมหานคร และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง การเปิดรับสื่อกับพฤติกรรมการเลียนแบบวัฒนธรรม จากละครทางโทรทัศน์ ฮอร์โมน วัยว้าวุ่น ของวัยรุ่นไทยในเขตกรุงเทพมหานคร โดยมีสมมติฐานการวิจัยครั้งนี้คือ 1. วัยรุ่นไทยกับพฤติกรรมการเลียนแบบวัฒนธรรมจากละครทางโทรทัศน์ มีความสัมพันธ์กัน 2. การเปิดรับสื่อกับพฤติกรรมการเลียนแบบวัฒนธรรมของวัยรุ่นไทย มีความสัมพันธ์กัน กลุ่มตัวอย่างที่เป็นวัยรุ่นไทยอายุ 15 – 25 ปี จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ คือค่าร้อยละ ค่าความถี่ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า T-Test, Anova, Regression และ Pearson’s Correlation เก็บข้อมูลด้วยวิธีการใช้แบบสอบถาม โดยที่ผลการทดสอบค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามคือ .762 ผลการวิจัยพบว่า 1. ลักษณะประชากรที่แตกต่างกัน ได้แก่ เพศ การศึกษา อาชีพ รายได้ จะมีพฤติกรรมการเลียนแบบไม่ต่างกัน แต่มีลักษณะประชากรด้านอายุ ส่งผลต่อพฤติกรรมการเลียนแบบที่แตกต่างกัน 2. การเปิดรับสื่อที่แตกต่างกัน ได้แก่ ช่องทางการเปิดรับชมซีรี่ส์ผ่านทางอินเทอร์เน็ต/ Line TV ปัจจัยด้านการได้รับความคิดสร้างสรรค์ ปัจจัยด้านการที่ท่านชอบตัวละครวัยรุ่นที่มีรูปร่างดี บุคลิกดีปัจจัยด้านการที่ท่านชอบแบบอย่างตัวละครที่แสดงเป็นคนดี ปัจจัยด้าน คือ บิดา มารดา ผู้ปกครองเป็นตัวต้นแบบในการเลียนแบบมากที่สุด ปัจจัยด้านการสังเกตเป็นวิธีที่ใช้ในการเลียนแบบมากที่สุด และ ปัจจัยด้านความนิยม/ แฟชั่น ปัจจัยด้านความต้องการการยอมรับจากกลุ่มเพื่อนเป็นสาเหตุในที่นิยมใช้ในการเลียนแบบมากที่สุดจริง จึงส่งผลให้มีพฤติกรรมการเลียนแบบที่แตกต่างกัน
The research of this study is to study the relative between media exposure and the imitation behavior of Thai teenage in culture effect on Hormones the series season 3.The objective of this study is to find out teenage in culture and the imitation behavior from drama series Hormones and study the relative between media exposure and the imitation behavior in culture from drama series Hormones. The hypotheses of this study are as follows. 1. Teenage and the imitation behavior in culture is related to drama series. 2. Media exposure and the imitation behavior in culture is related to drama series. The samples are 400 people who is Thai teenage 15 – 25 years. The statistics used in this study are Percentage, Frequency, Standard Division, T-Test, Anova, Regression and Pearson’s Correlation. The questionnaires with the Cronbach’s alpha level at .762 were used as an instrument to collect the data. The results of the study are as follows; 1. The demographic who has Ages differences in terms of age is exposed to the imitation behavior. 2. The media exposures who use internet/ Line TV, factor of creativity, the character teenage is good personality, the behavior of character to act in a play to be a good person modeling is parents, observation and the popular/ fashion the need of acceptation from friends’ group exposed to imitate behavior.
Description: การค้นคว้าอิสระ (นศ.ม.)--สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2559
Subjects: ละครโทรทัศน์ไทย
บทละครไทย
การดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์
การเลียนแบบในวัยรุ่น
จิตวิทยาวัยรุ่น
Advisor(s): มนฑิรา ธาดาอำนวยชัย
URI: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/2613
Appears in Collections:Independent Studies - Master

Files in This Item:

File Description SizeFormat
tisaporn.chal.pdf1.99 MBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

  DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback