DSpace
 

DSpace at Bangkok University >
Graduate School >
Master Degree >
Independent Studies - Master >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/1884

Title: กลยุทธ์การสื่อสารตลาดของแอพพลิเคชั่นวีแชท (Wechat) กับการใช้บริการของผู้บริโภคในสาธารณรัฐประชาชนจีนและประเทศไทย
Other Titles: The communication strategy of Wechat application and the use of consumers in the people’s republic of China and Thailand
Authors: ซินหยั่ว เจิ้น
Keywords: กลยุทธ์การสื่อสารทางตลาด
แอพพลิเคชั่นวีแชท
ผู้บริโภค
Issue Date: 2558
Publisher: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพึ่อศึกษา 1) กลยุทธ์การสื่อสารทางตลาดของแอพพลิเคชั่นวีแชท (Wechat) ของบริษัททีเซ้น (Tencent) 2) มุมมองของผู้บริโภคที่ใช้แอพพลิเคชั่นวีแชท (Wechat) ทั้งในสาธารณรัฐประประชาชนจีนและประเทศไทย ผู้วิจัยได้ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interviews) ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นแบบเจาะจง (Purposive Sampling) คือผู้บริหารด้านการตลาด 2 คนของแอพพลิเคชั่นวีแชทในบริษัททีเซ้น (Tencent) ที่ผลิตแอพพลิเคชั่นวีแชท (WeChat) และผู้ใช้บริการแอพพลิเคชั่นวีแชทจำนวน 18 คนในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนและประเทศไทย ผลการวิจัยพบว่ากลยุทธ์การสื่อสารทางตลาดของแอพพลิเคชั่นมีสองแบบ คือการทำตลาดแบบมีค่าใช้จ่าย โดยผ่านช่องทางบัญชีอย่างทางการ (Official Account) และเป็นสปอนเซอร์ของสติ๊กเกอร์ และการทำตลาดแบบไม่มีค่าใช้จ่าย สำหรับมุมมองของผู้บริโภคที่ใช้แอพพลิเคชั่นวีแชท (WeChat) ผลการวิจัยพบว่า ผู้ใช้บริการชาวจีนมีความพึงพอใจในการใช้บริการแอพพลิเคชั่นวีแชท โดยส่วนใหญ่จะติดต่อกับเพื่อน ทำธุรกิจ ส่วนเกี่ยวกับแอพพลิเคชั่นวีแชทในประเทศไทย แต่คนไทยยังนิยมใช้ไลน์มากกว่า และคิดว่าวีแชทไม่มีอะไรน่าสนใจ ชาวไทยใช้วีแชทติดต่อกับเพื่อนคนจีน
This research had objectives 1) to study the communication strategy of WeChat application 2) to investigate the views of application WeChat users in both People’s Republic of China and Thailand. This study was qualitative by using in-depth interviews with purposive sampling: two marketing administrators from Tencent Technology Company, the original manufacture of application WeChat; and 18 users of WeChat in both two countries. The results indicated that WeChat has two types of marketing communication, which are no-free communication through official account and sponsorship of stickers and free communication market. As for the users’ perspectives, Chinese users were mostly satisfied with application WeChat. They used WeChat to communicate with friends, relatives and customers. By contrast, Thai users appreciated Line more than WeChat and considered WeChat uninteresting. Thais utilized WeChat when connecting with Chinese friends.
Description: การค้นคว้าอิสระ (นศ.ม.)--สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2558
Advisor(s): ธรรญธร ปัญญโสภณ
URI: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/1884
Appears in Collections:Independent Studies - Master

Files in This Item:

File Description SizeFormat
xinyue_ren.pdf3.6 MBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

  DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback