DSpace
 

DSpace at Bangkok University >
Graduate School >
Master Degree >
Independent Studies - Master >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/1486

Title: ความสัมพันธ์ระหว่างคุณค่าตราสินค้ากับพฤติกรรมในการตัดสินใจเลือกร้านอาหารญี่ปุ่นเซนของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร
Other Titles: Relationship between brand equity and consumer behavior at ZEN Japanese Restaurant in Bangkok
Authors: ธันยชนก ปัญจวัฒน์
Keywords: คุณค่าตราสินค้า
ร้านอาหารญี่ปุ่น
ผู้บริโภค
Issue Date: 2558
Publisher: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาคุณค่าตราสินค้าและพฤติกรรมในการตัดสินใจเลือกร้านอาหารญี่ปุ่นเซน และเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริโภคต่อพฤติกรรมในการตัดสินใจ พร้อมทั้งศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณค่าตราสินค้ากับพฤติกรรมในการตัดสินใจเลือกร้านอาหารญี่ปุ่นเซน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริโภคที่ตัดสินใจเลือกร้านอาหารญี่ปุ่นเซน ในเขตกรุงเทพฯ จำนวน 350 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ด้วยสถิติ t-test และ F-test และด้วยค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient) ผลการศึกษา พบว่าผู้บริโภคมีความคิดเห็นต่อคุณค่าตราสินค้าของร้านอาหารญี่ปุ่นเซนโดยรวม อยู่ในระดับมาก โดยด้านการตระหนักถึงตราสินค้ามีความคิดเห็นมากที่สุด ผู้บริโภคมีพฤติกรรมในการตัดสินใจเลือกร้านอาหารญี่ปุ่นเซนอยู่ในระดับมาก โดยด้านการประเมินทางเลือกเป็นด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด ข้อมูลประชากรศาสตร์ด้านระดับการศึกษาต่างกัน มีพฤติกรรมในการตัดสินใจเลือกร้านอาหารญี่ปุ่นเซน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.004 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ อย่างไร ก็ตาม ข้อมูลประชากรศาสตร์ ด้าน เพศ อายุ อาชีพ รายได้ต่อเดือน และความถี่ในการใช้บริการต่างกันมีพฤติกรรมในการตัดสินใจเลือกร้านอาหารญี่ปุ่นเซน ไม่แตกต่างกัน คุณค่าตราสินค้ามีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมในการตัดสินใจเลือกร้านอาหารญี่ปุ่นเซนของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานคร
This study aims to brand equity and behavior in deciding Zen Japanese Restaurant. And compare the behavior of consumers in the decision. The study of the relationship between brand equity and behavior in deciding Zen Japanese Restaurant. The sample is consumers who choose Zen Japanese Restaurant. In Bangkok, the number 350 was used in this study were analyzed by using frequency, percentage, average, standard deviation. Statistical analysis by t-test and F-test and correlation coefficient. The finding were as follows: Consumers opinion on the value brand of Zen Japanese Restaurant were at a high level. By being aware of the brand with the most comments is inferior to the other assets of the brand linked to the brand. Consumer behavior in deciding Zen Japanese Restaurant. At a high level the assessment is the most choice. Demographic differences in education levels. Behavior in deciding Zen Japanese Restaurant. The difference was statistically significant. The demographic information on gender, age, occupation, monthly income and the frequency of the service has a different. The behavior in deciding Zen Japanese Restaurant is not difference. Brand equity is related to the behavior in deciding Zen Japanese Restaurant of consumers in Bangkok
Description: การค้นคว้าอิสระ (นศ.ม.)--บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2557
Advisor(s): อริชัย อรรคอุดม
URI: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/1486
Appears in Collections:Independent Studies - Master

Files in This Item:

File Description SizeFormat
thanchanok.panc.pdf2.37 MBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

  DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback