DSpace
 

DSpace at Bangkok University >
Graduate School >
Master Degree >
Theses >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/3380

Title: การปรับปรุงพื้นที่ใช้สอยภายในห้องสมุด กรณีศึกษา: อาคารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
Other Titles: The Adaptation of Usage Area within Library a Case Study of Library Building, Rajamangala University of Technology Thanyaburi
Authors: ณัฐกานต์ แสงแก้ว
Issue Date: 2561
Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและความต้องการในปัจจุบันของผู้ใช้ห้องสมุดผลการวิจัยที่ได้มาเพื่อเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงจัดวางผังพื้นใหม่ให้เหมาะสมและสอดคล้อง กับพฤติกรรมการใช้งานในปัจจุบัน แบบสอบถามถูกออกแบบเพื่อใช้เก็บรวบรวมข้อมูลใน 4 ปัจจัย คือ 1.ความเพียงพอต่อการใช้งาน 2.ความชัดเจนของป้ายสัญลักษณ์ 3. ความเหมาะสมของการจัดพื้นที่และการตกแต่ง 4.ความเหมาะสมของสภาพแวดล้อมภายในอาคาร จากกลุ่มตัวอย่าง 200 ชิ้นที่วิเคราะห์ด้วยหลักสถิติ สามารถสรุปได้ว่าการจัดวางที่นั่งสำหรับกิจกรรมพักผ่อนต่างๆ (เช่น พูดคุย ทานขนม) โซนไอที และห้องสำหรับศึกษาเดี่ยวและโต๊ะไม่พียงพอ ห้องสำหรับกวดวิชาก็เป็นที่ต้อง การมากขึ้น สัญลักษณ์ทางหนีไฟและป้ายบอกทางไม่ชัดเจน เสียงรบกวนจากเขตผ่อนคลายรบกวนเขตการศึกษา ทางสัญจรชั้น 3 และ 4 มีขนาดไม่เหมาะสม ข้อค้นพบที่ได้จากการศึกษาเหล่านี้ สามารถใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงพื้นที่ใช้สอยภายในห้องสมุดต่อไปได้
This research has aimed to investigate recent problems, and requirements of library users. The findings would be recommended, as guidelines for space planning renovation in line with the current behavior of the users. The questionnaire was used to collect 4 factors consisting of the following: 1) Sufficiency of areas to use, 2) Clarity of signage, 3) Appropriateness of space arrangement and decoration, and 4) Appropriateness of interior Environments. 200 example groups were statistically analyzed. It can be concluded that the area for leisure activities (e.g. chatting and eating snacks), IT Zone and individual study room and tables were insufficient in the number of tutorial rooms that were also needed. Signage of fire exists and direction is unclear. Noise from the relaxation zone, disturbs the study zone. The size of interior circulation is inappropriate, especially on the 3rd and the 4th floor. These findings gave rise to the renovation of space planning, and interior environment in the library.
Description: วิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--สาขาวิขาสถาปัตยกรรมภายใน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2560
Subjects: ห้องสมุด -- การออกแบบตกแต่ง
การตกแต่งภายใน
การตกแต่งห้องสมุด
การตกแต่งและการประดับ
ห้องสมุด -- การตกแต่ง
การออกแบบ
ห้องสมุด
สถาปัตยกรรม -- การออกแบบและผังพื้น
Advisor(s): ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร
ชัยสิทธิ์ ด่านกิตติกุล
URI: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/3380
Appears in Collections:Theses
Theses

Files in This Item:

File Description SizeFormat
nattagan_sang.pdf23.27 MBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

  DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback