DSpace
 

DSpace at Bangkok University >
Cluster of Business & Management >
School of Business Administration >
Master Degree >
Journal Articles - MBA >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/1417

Title: การศึกษาวัฒนธรรมองค์กร การทางานร่วมกันเป็นทีม และการติดต่อสื่อสารที่มีผลต่อความผูกพัน ของพนักงานระดับปฏิบัติการ กรณีศึกษา เขตบางพลี จังหวัด สมุทรปราการ
Other Titles: A study of Organizational Culture, Teamwork and Communications Affecting Organizational Commitment: A Case Study of Bang Phli, Samut Prakan Province
Authors: มธุรส วิไลลักษณ์
Keywords: วัฒนธรรมองค์กร, การทำงานเป็นทีม
การติดต่อสื่อสาร, ความผูกพันต่อองค์กร,
พนักงาน ระดับ ปฏิบัติการ
Issue Date: 2557
Publisher: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Abstract: การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณโดยใช้การสำรวจด้วยแบบสอบถาม โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา ปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับระดับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานระดับปฏิบัติการ ในเขต อำเภอบางพลี จังหวัด สมุทรปราการ ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน และทดสอบความตรง ของเนื้อหาและความน่าเชื่อถือด้วย วิธีของครอนบาร์คกับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 คนได้ระดับความ เชื่อมั่น 0.959 ผลการวิจัยพบว่า ระดับความคิดเห็น เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์กรของกลุ่มตัวอย่างที่ตอบ แบบสอบถาม ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นราย ด้านพบว่าทุกด้านอยู่ในระดับมาก เช่นเดียวกัน ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการปฏิบัติงานเป็นทีม ในภาพรวมอยู่ ในระดับมาก เมื่อ พิจารณาเป็นรายด้านพบว่าทุกด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากเช่นเดียวกัน ระดับความคิดเห็น เกี่ยวกับ การวัดความผูกพันในองค์กรในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าทุกด้านมี ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากเช่นเดียวกัน ผลการทดสอบสมมติฐานเพื่ออธิบายถึงอิทธิพลของความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัย ที่มีอิทธิพลต่อ ระดับความผูกพันต่อองค์กรพบว่าตัวแปรด้านวิสัยทัศน์และความเข้าใจในองค์กร ตัวแปรด้านการ ระดม ความคิดเห็น ตัวแปรด้านความสำเร็จในการปฏิบัติงาน และตัวแปรด้านประสิทธิภาพในการสื่อสารใน องค์กร มีอิทธิพลทางบวกต่อระดับความผูกพันต่อองค์กรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่ง เป็นไปตามสมมติฐาน ที่ตั้งไว้บางส่วน เพราะตัวแปรที่มีอิทธิพลทางบวกต่อระดับความผูกพันต่อ องค์กรจากการทดสอบตัวแปร 8 ตัวแปร พบว่ามีเพียง 4 ตัวแปรที่มีอิทธิพลทางบวกและสามารถ ร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของระดับความผูกพันต่อ องค์กรได้ โดยสามารถร่วมกันอธิบายความ แปรปรวนของระดับความผูกพันต่อองค์กรได้ร้อยละ 66.2
This research adopted a survey design and used questionnaires to collect data. The objective of this research is to study factors that affect employees’ commitment who work at the operational level in the Bang Phli district, Samut Prakan. A pilot study involving 30 respondents were conducted in order to test the measurements’ validity and reliability (Cronbach’s Alpha =0.959). 400 employees who work at the operational level in the said districts were recruited to participate in the survey. The results indicate that respondents highly agree with the organizational culture. In addition, they also highly agree with each dimension of the construct. The same results are also observed for all of organizational commitment’s dimensions. The results from the hypothesis tests show that visions and organizational understanding, brainstorming, operational success, and communication effectiveness are dimensions that affect organizational commitment (p-value < 0.05). The results support some of the hypothesized relationships as only 4 out of 8 variables positively affect organizational commitment, and they collectively explain 66.2% of the variance associated with the construct.
Description: การค้นคว้าอิสระ(บธ.ม.)--บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
URI: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/1417
Appears in Collections:Journal Articles - MBA

Files in This Item:

File Description SizeFormat
j_maturos.vila.pdf141.79 kBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

  DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback