DSpace
 

DSpace at Bangkok University >
Graduate School >
Master Degree >
Independent Studies - Master >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/1272

Title: โครงการศึกษารูปแบบการบริหารและแนวโน้มของธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรมล้านนา ศรีวิศาล
Other Titles: Feasibility Study of Srivisal Lanna Cultural Tourism Center
Authors: ณัชาวดี แสนผูก
Keywords: วัฒนธรรม
การท่องเที่ยวทางเชิงศิลปวัฒนธรรม
ศิลปการแสดงทางวัฒนธรรมล้านนา
Issue Date: 2558
Publisher: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Abstract: โครงการศึกษารูปแบบการบริหารและแนวโน้มของธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม ล้านนา ศรีวิศาล มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษารูปแบบการบริหารและแนวโน้มของธุรกิจการ ท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรมล้านนา ศรีวิศาล 2) เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านศิลปวัฒนธรรมแขนงต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพกระทั่งสามารถสร้างรายได้จาการสร้างสรรค์ได้ 3) เพื่อศึกษาการลงทุน ผลตอบแทน และความเสี่ยงในการจัดตั้งศูนย์รวมการเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมล้านนา ศรีวิศาล โดยใช้ ประชากรกลุ่มตัวอย่างคือ นักท่องเที่ยวที่เข้ามาท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมในจังหวัด เชียงใหม่ จานวน 385 คน ใช้วิธีหาขนาดกลุ่มตัวอย่างแบบไม่ทราบจานวนประชากรของ Cochran ใช้โปรแกรมสาเร็จรูปเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล โดยผลการศึกษาพบว่า ประชากรในช่วงอายุ 20-39 ปี ที่ มีปริมาณการท่องเที่ยวมากที่สุด พฤติกรรมการท่องเที่ยวของผู้ที่ท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่ ส่วนมากเข้ามาท่องเที่ยว 1-4 ครั้งต่อปี วัตถุประสงค์ในการท่องเที่ยว พบว่า อันดับแรกเพื่อเยี่ยม ญาติ รองลงมาคือไหว้พระและปฏิบัติธรรม อันดับที่ 3 คือพักผ่อนเปลี่ยนบรรยากาศ กิจกรรมที่ทา ระหว่างการเดินทางท่องเที่ยว ยิ่งเน้นย้าถึงความต้องการของนักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ที่ต้องการ ท่องเที่ยวทั่วไปตามสถานที่ต่างๆ รองลงมาคือร่วมกิจกรรมทางศาสนา พักผ่อน กิจกรรมเชิง วัฒนธรรม และกิจกรรมเชิงเกษตรกรรม การหาข้อมูลข่าวสารสาหรับการเดินทางพบว่าข้อมูลที่ น่าเชื่อถือที่สุดสาหรับนักท่องเที่ยวจะมาจาก เพื่อน ญาติ ครอบครัว พาหนะที่ใช้ในการเดินทาง ส่วน ใหญ่เป็นพาหนะส่วนตัว ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 2,776 บาทต่อครั้ง ประโยชน์ที่ ได้รับจากการท่องเที่ยวพบว่านักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ได้รับประโยชน์ในการรับประสบการณ์และความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประเทศไทยมากขึ้น ผู้วิจัยจึงเห็นว่าการให้บริการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมมี แนวโน้มความเป็นไปได้ในการประกอบธุรกิจในพื้นที่เชียงใหม่ โดยผู้ประกอบการต้องสร้างการรับรู้ เกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเพื่อให้ผู้บริโภคทราบข้อดีที่โดดเด่นและให้ความสนใจในการจัด กิจกรรมท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โดยกุญแจสาคัญที่จะทาให้ธุรกิจประสบความสาเร็จ คือ บุคลากร ต้องมีความรู้ ความชานาญ และประสบการณ์ในการจัดกิจกรรมระหว่างการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม บุคลากรในการนาเที่ยวต้องมีเสน่ห์ของความเป็นชาวล้านนาทั้งกิริยามารยาท การยิ้มแย้มแจ่มใส บุคลิก และธุรกิจต้องไม่หยุดที่จะพัฒนาตนเองและหาไอเดียความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆอยู่เสมอ การ ประกอบธุรกิจในระยะแรกต้องสร้างการรับรู้ผ่านการทากิจกรรมทางการตลาดเพื่อเข้าสู่อุตสาหกรรม ธุรกิจบริการท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่
This study was conducted to 1) study the managing pattern and the tendency of Lanna Sriwisan cultural tourism 2) to effectively improve the qualities of the cultural arts in every aspects and make use of them, and 3) investigate the investments, compensations, and risks in establishing Lanna and Sriwisan cultural learning center. Three hundred and eighty-five tourists who visited cultural tourist attractions in Chiangmai participated in this study. The data was analysed based on Cochran theory and methodology by using a commercial program. The study found that the population, at the age ranging from 20 - 39 years old, travel the most. They traveled to Chiangmai once to four times per year. Their objectives in traveling were visiting relatives, religious and meditation retreats, and recreation, respectively. The activities during traveling indicated the tourists’ demands and purposes: visiting tourist attractions, attending religious activities, relaxing, joining cultural and agricultural activities. The most reliable sources for the tourists to retrieve the traveling information was from friends, relatives, and family. The most preferable means of transportation for the tourists was the private transports. The expense was approximately THB 2,776 per trip. The benefit from traveling was most tourists earned more experiences and understandings about Thailand. It can be seen from the study that there is a possibility in establishing the cultural traveling business in Chiangmai. This can be done by contributing the benefits of the cultural tourism and activities relative to this to tourists. The key factor in making the business successful is personnels who are knowledgeable, skilful, and experiential in organising cultural traveling activities. The Lannian charms in manners, characteristics, and minds as well as the creativities of the personnels are prerequisite. In the first phase of the business, it is advisable to advertise through marketing activities in order to access to the tourism industry in Chiangmai.
Description: การค้นคว้าอิสระ (นศ.ม.)--สาขาวิชาการบริหารธุรกิจบันเทิงและการผลิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2557
Advisor(s): ปีเตอร์ กัน
URI: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/1272
Appears in Collections:Independent Studies
Independent Studies - Master

Files in This Item:

File Description SizeFormat
Natchawadee.sanp.pdf20.71 MBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

  DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback