DSpace
 

DSpace at Bangkok University >
Cluster of New Media & Design >
School of Law >
Master Degree >
Independent Studies >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/878

Title: แนวคิดเกี่ยวกับความรับผิดของผู้ทำแผนฟื้นฟูกิจการ : ศึกษาเฉพาะกรณีผู้ทำแผนฟื้นฟูกิจการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต
Other Titles: The concept of liabilities of planner : a study on the planner's dishonest practice
Authors: รัฐธนินทร์ ยุชยะเรืองยศ
Keywords: แผนฟื้นฟูกิจการ
ล้มละลาย
Issue Date: 2551
Publisher: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Abstract: พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2547 ได้กำหนดให้ผู้ทำแผนฟื้นฟูกิจการต้องรับผิดทาง อาญาหากปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต แต่มิได้กำหนดมาตรฐานในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ทำแผนไว้ ทำให้ปัจจุบันพบว่ามีกรณีที่ผู้ทำแผนปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต สารนิพนธ์ฉบับนี้จึงมีวัตถุประสงค์ ที่จะศึกษามาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ ความรับผิด และการทุจริตของผู้ทำแผน โดยศึกษา เปรียบเทียบกับกฎหมายฟื้นฟูกิจการของประเทศอังกฤษและสหรัฐอเมริกา เพื่อเสนอแนวคิด เกี่ยวกับความรับผิดของผู้ทำแผนในกรณีที่ผู้ทำแผนปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต ผลการศึกษาพบว่า เนื่องจากพระราชบัญญัติล้มละลาย มิได้กำหนดบทนิยามของคำว่า ทุจริต ไว้ จึงต้อง เทียบเคียงกับประมวลกฎหมายอาญา ส่งผลให้ผู้ทำแผนต้องรับผิดทางอาญาเมื่อปฏิบัติหน้าที่ โดยมีเจตนามุ่งแสวงหาทรัพย์สินหรือผลประโยชน์โดยมิชอบสำหรับตนเองและผู้อื่น แต่ กฎหมายฟื้นฟูกิจการของประเทศอังกฤษและสหรัฐอเมริกา ได้กำหนดให้ผู้ทำแผนต้องรับผิด หากปฏิบัติฝ่าฝืนหน้าที่แห่งความไว้วางใจได้ในระดับมาตรฐานของกรรมการบริษัท ถึงแม้ผู้ทำ แผนจะไม่ได้รับทรัพย์สินหรือผลประโยชน์ใด ๆ จากการกระทำนั้น ผู้วิจัยจึงมีแนวคิดว่าควรกำหนดให้ผู้ทำแผนมีมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่เช่นเดียวกับ กรรมการหรือผู้บริหารบริษัท นั่นคือผู้ทำแผนต้องมีหน้าที่เกี่ยวกับความไว้วางใจได้ ความ ระมัดระวัง ความรับผิดชอบ และความซื่อสัตย์สุจริต ส่งผลให้ผู้ทำแผนต้องรับผิดหากปฏิบัติ ฝ่าฝืนหน้าที่ดังกล่าว
The Act of Bankruptcy B.E. 2547 provides that the planner is subject to criminal liability in case of dishonest practice. But it lacks of standards of performance, causing problems in case of the planner’s dishonest practice. This research aims at studying the principles concerning the planner’s standard of performance, liability, and dishonest practice. The study is base on a comparison with the law of business reorganization of England and the United States of America relating to the planner. The results of the research show that since there is no definition of “dishonest practice” in the Act of Bankruptcy, it is necessary to apply the definition in the Penal Code. As a result, the planner is subject to criminal liability when the performance contains an intention: using an honest method to seek an asset or other benefits for himself or other person. But the law of business reorganization of England and the United States of America determine that the planner is subject to liability of his performance which violates the fiduciary duty that is equivalent to the standard of company director. Although the planner does not receive any asset or other benefits. The researcher suggests that the planner should perform the duty in the same standards of the company director. The planner has a fiduciary duties, duty of care, responsibility and honest. Be the cause of the planner is subject to liability if his performance violates these duties.
Description: สารนิพนธ์ (น.ม.)--บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2551
Subjects: การฟื้นฟูบริษัท--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ--วิจัย
ล้มละลาย--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ--วิจัย
ความรับผิด (กฎหมาย)--วิจัย
ความรับผิดทางอาญา--วิจัย
การทุจริตและประพฤติมิชอบ--วิจัย
Advisor(s): นเรศร์ เกษะประกร
ทินวัฒน์ พุกกะมาน
URI: http://dspace2.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/878
Appears in Collections:Independent Studies
Independent Studies - Master

Files in This Item:

File Description SizeFormat
rattanin_yuch.pdf528.95 kBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

  DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback