DSpace
 

DSpace at Bangkok University >
Graduate School >
Master Degree >
Independent Studies - Master >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/5569

Title: ปัจจัยความน่าเชื่อถือของผู้มีอิทธิพลทางความคิดเสมือนจริง (Virtual Influencer) ที่มีผลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อสินค้าแฟชั่นของผู้บริโภคเจเนอเรชั่น Z ในเขตกรุงเทพมหานคร
Other Titles: The effects of virtual influencer credibility factors on purchasing decision process for fashion product of generation Z in Bangkok
Authors: นวมินทร์ ศิวสรานนท์
Keywords: มีอิทธิพลทางความคิดเสมือนจริง
การตัดสินใจซื้อ
สินค้าแฟชั่น
ผู้บริโภค
เจเนอเรชั่นซี
Issue Date: 2566
Publisher: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Abstract: การค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยความน่าเชื่อถือของผู้มีอิทธิพลทางความคิดเสมือนจริง (Virtual Influencers) ที่มีผลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อสินค้าแฟชั่นของผู้บริโภคเจเนอเรชั่น Z ในเขตกรุงเทพมหานคร วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของปัจจัยความน่าเชื่อของผู้มีอิทธิพลทางความคิดเสมือนจริงกับการตัดสินใจซื้อสินค้าแฟชั่น โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ทดสอบแบบสอบถามด้านความเที่ยงตรงของเนื้อหาและความน่าเชื่อถือด้วยวิธีครอนบาร์คกับกลุ่มตัวอย่างจำนวนแรก 30 คน ได้ค่าระดับความเชื่อมั่น 0.51 จากนั้นได้แจกแบบทดสอบจำนวนจริงเป็น จำนวน 147 คน โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) และสถิติสหสัมพันธ์อย่างง่าย เพียร์สัน (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient) เพื่อใช้หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นและตัวแปรตาม จากการเก็บข้อมูลพบว่า หากผู้มีอิทธิพลทางความคิดเสมือนจริง (Virtual Influencer) ได้รับความน่าเชื่อถือเพิ่มมากขึ้นจะส่งผลให้เกิดกระบวนการตัดสินใจซื้อสินค้าแฟชั่นของผู้บริโภคเจเนอเรชั่น Z เพิ่มขึ้นสูงมากด้วย โดยผู้บริโภค เจเนอเรชั่น Z นำข้อมูลด้านต่าง ๆ ของผู้มีอิทธิพลทางความคิดเสมือนจริง (Virtual Influencer) มาตัดสินใจด้วยตนเอง ทั้งความไว้วางใจ ความเชี่ยวชาญ ความเคารพ ความเหมือนกลุ่มเป้าหมาย และความดึงดูดใจ
This research aims to study the effects of virtual influencer credibility factors on purchasing decision process for fashion product of generation Z in Bangkok. The analysis explores the relationship between the credibility of Virtual influencers and fashion purchasing decisions using surveys as a data collection tool. The survey content's reliability and credibility were tested using Cronbach's alpha with an initial sample of 30 participants, yielding a confidence level of 0.51. Subsequently, a real sample of 147 participants was surveyed using descriptive statistics and Pearson's Product Moment Correlation Coefficient to determine the relationship between independent and dependent variables. The data revealed that an increase in the credibility of virtual influencers significantly influences the fashion purchasing decisions of Generation Z consumers. Generation Z consumers consider various factors when making decisions about virtual influencers, including trust, expertise, respect, similarity to the target audience, and attractiveness.
Description: การค้นคว้าอิสระ (นศ.ม.)--สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2565
Advisor(s): องอาจ สิงห์ลำพอง
URI: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/5569
Appears in Collections:Independent Studies
Independent Studies - Master

Files in This Item:

File Description SizeFormat
nawamin_siwa.pdf13.8 MBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

  DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback