DSpace
 

DSpace at Bangkok University >
Graduate School >
Master Degree >
Independent Studies - Master >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/4556

Title: ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้บริการฟิตเนสของผู้ที่อยู่อาศัยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
Other Titles: Factors Related to the Use of Fitness Center of Resident of Bangkok and Vicinity Area
Authors: พรรณราย พินิจ
Keywords: ฟิตเนส
พฤติกรรมผู้บริโภค
คุณภาพการให้บริการ
Issue Date: 2563
Publisher: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมของคนกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑลที่เข้าใช้บริการฟิตเนส และ (2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวกับการใช้บริการฟิตเนสของ คนกรุงเทพมหานครและปริมณฑล กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานการวิจัย โดยใช้ t–test, One–Way ANOVA, Pearson Correlation และ Chi–Square Test ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมของคนกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่เข้าใช้บริการฟิตเนส พบว่า วันที่ไปใช้บริการฟิตเนสเป็นประจาคือ วันเสาร์ จำนวน 182 คน คิดเป็นร้อยละ 45.5 รองลงมาคือ วันศุกร์ จำนวน 94 คน คิดเป็นร้อยละ 23.5 และใช้บริการทุกวัน จำนวน 69 คน คิดเป็นร้อยละ 17.3 ตามลาดับ ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า 1) พฤติกรรมของคนกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่เข้าใช้บริการฟิตเนส พบว่า ลักษณะทางประชากร ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ มีความสัมพันธ์กับความถี่ในการใช้บริการฟิตเนส อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และลักษณะทางประชากร ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ มีความสัมพันธ์ กับระยะเวลาในการใช้บริการฟิตเนส และ 2) ปัจจัยที่เกี่ยวกับการใช้บริการฟิตเนสของคนกรุงเทพมหานครและปริมณฑล พบว่า ปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้บริการมีความสัมพันธ์กับค่านิยมของ ผู้ใช้บริการมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (r = 0.015, p = 0.036) โดยมีความสัมพันธ์กัน ทิศทางบวกในระดับต่ำ
This objectives of this study were (1) to study the behavior of people in Bangkok and its vicinity using fitness services and (2) to study factors related to the use of fitness services of people in Bangkok and its vicinity. The sample consisted of 400 people. The research instruments were questionnaires and the statistics used in the research were percentage, frequency, mean, standard deviation. And test the research hypothesis using t–test, One–Way ANOVA, Pearson Correlation and Chi–Square Test. The results showed that; Bangkok and metropolitan people use fitness services most frequently on Saturday (45.5%) followed by on Friday, (23.5%) and daily (17.3%) respectively. The results of the hypothesis testing showed that demographic characteristics of Bangkok and metropolitan people using fitness services including sex, age, education level and income were related to the frequency of their fitness use behavior. Their demographic characteristics including sex, age, education level, and income were also related to the length of time they spent at fitness facilities. In addition, their interaction with other users visiting the fitness facilities was significantly related to their values towards fitness use.
Description: การค้นคว้าอิสระ (ศศ.ม.)--สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการบริการและการท่องเที่ยว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2562
Advisor(s): สมยศ วัฒนากมลชัย
URI: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/4556
Appears in Collections:Independent Studies
Independent Studies - Master

Files in This Item:

File Description SizeFormat
phannarai_phin.pdf1.34 MBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

  DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback