DSpace
 

DSpace at Bangkok University >
Graduate School >
Master Degree >
Independent Studies - Master >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/3679

Title: คุณภาพการบริการและการเปิดรับข่าวสารผ่านช่องทางออนไลน์ที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการเรียกรถแท็กซี่ผ่านแอปพลิเคชันในกรุงเทพมหานคร
Other Titles: Service Quality and Online Media Exposure Affect to Decision Making in Using Taxi Booking Service via Application in Bangkok
Authors: รดา เกตุแก้ว
Keywords: คุณภาพการบริการ
การเปิดรับข่าวสาร
การเลือกใช้บริการเรียกรถแท็กซี่ผ่านแอปพลิเคชัน
Service Quality
Media Exposure
Using Taxi Booking Service via Application
Issue Date: 2561
Publisher: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Abstract: การศึกษาฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการเรียกรถแท็กซี่ผ่านแอปพลิเคชันในกรุงเทพมหานคร ได้แก่ คุณภาพการบริการและการเปิดรับข่าวสารผ่านช่องทางออนไลน์ ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้บริโภคที่เคยใช้บริการเรียกรถแท็กซี่ผ่านแอปพลิเคชันในกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และและสถิติเชิงอ้างอิงที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน คือการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุจากการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 15 – 24 ปี มีการศึกษาระดับปริญญาตรี อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน และส่วนใหญ่มีรายได้เฉลี่ยอยู่ที่ 15,001 - 30,000 บาท นิยมได้รับข่าวสารผ่านช่องทางโซเชียลมีเดีย เช่น เฟซบุ๊ก อินสตาแกรม ทวิตเตอร์ ยูทูป แอปพลิเคชันที่เลือกใช้บริการเรียกรถแท็กซี่คือ Grab Taxi มีความถี่ในการใช้บริการ 1 - 3 ครั้งต่อเดือน โดยเหตุผลในการเลือกใช้บริการส่วนมาก เพราะการใช้บริการเรียกรถแท็กซี่ผ่านแอปพลิเคชันสามารถไปรับท่านในตำแหน่งที่ท่านอยู่ได้ ช่วงเวลาที่ใช้บริการคือช่วงค่ำ (18.00 น. เป็นต้นไป) จุดหมายปลายทางคือบ้าน และค่าบริการในการใช้บริการมีราคา60 บาท - 120 บาทต่อครั้งโดยประมาณ ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยคุณภาพการบริการ ได้แก่ ด้านความเป็นรูปธรรมของบริการ ด้านการตอบสนองลูกค้า ด้านการให้ความมั่นใจต่อลูกค้า ด้านความเข้าใจและรับรู้ความต้องในผู้รับบริการ และ ปัจจัยการเปิดรับข่าวสารผ่านช่องทางออนไลน์ ได้แก่ ด้านการเลือกเปิดรับ ด้านการเลือกให้ความสนใจ ด้านการเลือกรับรู้และตีความหมาย และการเลือกจดจำ มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการเรียกรถแท็กซี่ผ่านแอปพลิเคชันในกรุงเทพมหานคร ส่วนปัจจัยคุณภาพการบริการด้านความเชื่อถือไว้วางใจพบว่าไม่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการเรียกรถแท็กซี่ผ่านแอปพลิเคชันในกรุงเทพมหานครอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05
The aim of research studies was to investigate the influence of decision making in using Taxi booking service via application include service quality and online media exposure. Consumers who used a taxi booking service via application were participants of this studied. This research was conducted by using the questionnaire for the total of 400 respondents. Descriptive statistics utilized in data analysis were percentage, mean, standard deviation, Pearson’s correlation coefficient. The hypothesis was tested by multiple regression analysis. This research shows the results on the study that the respondents were female, aged between 15 – 24 years old, with a bachelor’s degree. Most of them were employees in the private company with the average monthly income between 15,001 - 30,000 Baht. The respondents prefer to receive news via social media channels like Facebook, Instagram Twitter, YouTube. Most of the respondents used Grab Taxi application. The frequency in using application was 1 – 3 times per month, between 6.00 PM onward. The reason for using taxi booking services was application can pick you up at your exact location. Most frequent drop of point is home, with the average spending per time was to 60 - 120 Baht. For the hypotheses testing results, the study found that service quality in terms of tangibility, responsiveness, assurance, empathy and online media exposure in terms of selective exposure, selective attention, selective perception and interpretation, selective retention affects to decision making in using taxi booking service via application. While service quality in terms of reliability have no significant affect to decision making in using taxi booking service via application at the significant level of 0.05
Description: การค้นคว้าอิสระ (บธ.ม.) -- บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2559
Subjects: รถแท็กซี่มิเตอร์
รถแท็กซี่มิเตอร์ -- การตัดสินใจ
สื่อสังคมออไนลน์
บริการลูกค้า
งานบริการ
Advisor(s): รวิพรรณ สุภาวรรณ์
URI: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/3679
Appears in Collections:Independent Studies - Master
Independent Studies

Files in This Item:

File Description SizeFormat
rada_ketk.pdf2.95 MBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

  DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback