DSpace
 

DSpace at Bangkok University >
Graduate School >
Master Degree >
Independent Studies - Master >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/3194

Title: การศึกษาโครงการจัดตั้งบริษัท Content Production and Localization
Other Titles: The Study on the Establishment of Content Production and Localization
Authors: หิรัญ กุยยกานนท์
Keywords: การบรรยายไทย
การพากย์ภาษาไทย
Issue Date: 2561
Publisher: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Abstract: การศึกษาโครงการจัดตั้งบริษัท Content Production and Localization ในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจของผู้บริโภคที่มีต่อการเลือกรับชมบทบรรยายและการพากษ์ภาษาไทย 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อการรับชมบทบรรยายและการพากษ์ภาษาไทย 3) เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตั้งธุรกิจลักษณะธุรกิจของบริษัท Content Production and Localization พบว่า ในด้านประเภทของสื่อต่างประเทศที่ท่านเลือกรับชม ส่วนใหญ่ติดตามชมภาพยนตร์ต่างประเทศ ในการบรรยายภาษาไทย และการพากย์ไทยนั้น สามารถทำให้ผู้ชมเข้าใจการสื่อสารมากขึ้น ยิ่งหากเป็นเรื่องราวเฉพาะด้าน มีคำศัพท์ทางเทคนิคต่างๆของเรื่องราวเหล่านั้น การบรรยายภาษาไทย และการพากย์ไทยก็มีส่วนสำคัญในการทำให้เกิดความเข้าใจเพิ่มมากยิ่งขึ้น ด้านอารมณ์ในการรับชมการบรรยายภาษาไทย และการพากย์ไทยนั้นส่งผลอย่างมากในการรับชมของผู้ชม การถ่ายทอดอารมณ์ในการบรรยาย การพากย์ภาษาไทย กับการแสดงต้องไปในทิศทางเดียวกัน ต้องสามารถเข้าถึงอารมณ์ของบทแสดงได้ การนำบุคคลที่มีชื่อเสียง ดารา นักแสดง มาพากย์ภาษาไทย มองว่าเป็นสามารถส่วนบุคคล และต้องมีการฝึกฝน แม่นยำ เพื่อสามารถถ่ายทอดความรู้สึกออกมาได้ จึงประสบความสำเร็จ ทัศนคติในเรื่องการบรรยายภาษาไทยนั้น เหมาะสำหรับคนที่ต้องการรับชมแบบต้นฉบับ และต้องการได้อรรถรสอย่างเต็มเปี่ยม อีกทั้งยังสามารถช่วยในการฝึกภาษาสำหรับผู้ที่ต้องการฝึกภาษา แต่ในการบรรยายไทยนั้น บางครั้งการขึ้นบรรยายภาษาไทยนั้นมีความรวดเร็วเกินกว่าที่ผู้ชมจะเสพเนื้อหาทันได้ และทัศนคติที่มีต่อการพากย์ภาษาไทยนั้น ผู้ชมยังเล็งเห็นถึงประโยชน์อยู่ เพราะสามารถทำให้ผู้ชมเสพภาพอย่างเต็มที่ โดยไม่ต้องพะวงในการเสพเนื้อหา ผู้ชมบางคนไม่ต้องจดจ่อกับการเสพเนื้อหาตลอดเวลา แต่ขณะเดียวกันการพากย์ภาษาไทยก็ยังมีความบกพร่องในเรื่องการถ่ายทอดภาษา ซึ่งส่งผลต่ออารมณ์และความรู้สึกของภาพยนตร์กับผู้ชมบางจำนวน
The study of the establishment project of a content production and localization company was 1) to study the factors influencing consumers' decision making in choosing films with Thai subtitles and dubbings, 2) to study the consumers’ satisfaction towards films with Thai subtitles and dubbings, and 3) to study the possibilities of establishing a business in the field of content production and localization companies. It was found that, in terms of the foreign media that the consumers chose, mostly they were foreign films. When provided with a Thai subtitle or dubbing, it enabled the audiences to better understand the contents, especially when there were technical or specific terms used in the films. In terms of the consumers’ emotions, Thai subtitles and dubbings had a major impact on the viewing experiences of the audiences. However, the tone of the Thai subtitles and dubbings needed to be in the same direction of the films so that they can deliver the desired equivalent effects on the audiences. Using celebrities’ or well-known actors’ voice in Thai dubbings was more of the abilities of the celebrities or actors themselves, which required trainings in order to be able to deliver the desired equivalent effects on the audiences. In terms of the perceptions of the Thai audiences towards Thai subtitles, it was suitable for those who would like to listen to the original soundtracks and fully appreciate the originality of the films. Also, Thai subtitles could benefit those who would like to practice learning foreign languages by reading the Thai subtitles and listening to the source language. However, for Thai subtitles, sometimes the time frame for each was too short for the audiences to read and follow through. In terms of the perceptions of the Thai audiences towards Thai dubbings, the Thai audiences still saw benefits in it as it allowed the audiences to enjoy the films without having to worry about reading and catching up with the Thai subtitles. In other words, some movie-goers did not need to concentrate on the Thai subtitles all the time throughout the films. Nevertheless, Thai dubbings still had weak points in terms of the delivery of the original meaning and tone, which affected the films’ emotions and feelings of certain audiences.
Description: การค้นคว้าอิสระ (นศ.ม.) -- สาขาวิชาการบริหารธุรกิจบันเทิงและการผลิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2560
Subjects: ธุรกิจบันเทิง
การตัดสินใจ
ธุรกิจบันเทิง -- การตัดสินใจ
ความพอใจของผู้บริโภค
การสื่อทางภาษาพูด
การสื่อทางภาษาพูด -- การตัดสินใจ
ธุรกิจใหม่ -- การตัดสินใจ
Advisor(s): ปีเตอร์ รุ่งเรืองกานต์
ณัฏฐณิชา ณ นคร
URI: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/3194
Appears in Collections:Independent Studies
Independent Studies - Master

Files in This Item:

File Description SizeFormat
hiran_kuyy.pdf5.4 MBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

  DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback