DSpace
 

DSpace at Bangkok University >
Graduate School >
Master Degree >
Independent Studies - Master >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/2941

Title: แผนธุรกิจโรงงานน้ำดื่ม แม่เกาลูน
Other Titles: Business plan for MKL
Authors: พิชัย ตันติอนุกุลบุตร
Keywords: น้ำดื่ม
คุณภาพน้ำดื่ม
Issue Date: 2560
Abstract: แผนธุรกิจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของการพัฒนาน้าดื่มบรรจุขวด ภายใต้ แบรนด์แม่เกาลูน ในการจัดท้าแผนธุรกิจนี้ ได้ท้าการศึกษาและวิเคราะห์การตลาดด้วยวิธีการวิจัยเชิง คุณภาพกับกลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมรวมไปถึงผู้บริโภคในครัวเรือน และการ วิเคราะห์ถึงจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรคของกิจการ และการวิเคราะห์การแข่งขัน ผลการวิจัยตลาดพบว่า กลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมรวมไปถึงผู้บริโภค ในครัวเรือนส่วนใหญ่ค้านึงถึงราคาและความสะอาดเป็นส้าคัญ ส้าหรับการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรคของกิจการ พบว่า กิจการมีจุดแข็งในการผลิตน้าดื่ม OEM ที่มีราคาสินค้าต่้ากว่า คู่แข่ง ในปริมาณของการสั่งผลิตต่อครั้งที่มีขั้นต่้าในการผลิตน้อยกว่าคู่แข่งรายอื่น แต่กิจการยังมี จุดอ่อนที่ท้าให้เสียเปรียบคู่แข่งในการวางแผนการตลาดและบุคลากรที่เป็นตัวแทนจ้าหน่าย ส้าหรับ โอกาส พบว่าเติบโตในกลุ่มธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมจึงเป็นการเปิดโอกาสให้ธุรกิจสามารถ ขยายตลาดน้าดื่ม OEM ได้ และอุปสรรค คือ คู่แข่งก็ เมื่อวิเคราะห์การแข่งขัน พบว่า กิจการมีความ ได้เปรียบเรื่องสถานที่ตั้ง ราคาของสินค้า และคุณภาพสินค้า จากผลการวิเคราะห์ ทิศทางกลยุทธ์ของกิจการ คือสร้างความแข็งแกร่งให้แบรนด์น้าดื่มเพื่อ เทียบเท่าแบรนด์น้าดื่มชั้นน้า โดยใช้กลยุทธ์ต่าง ๆเช่น กลยุทธ์การตลาด กลยุทธ์การสร้างแบรนด์ เป็นต้น ซึ่งโครงการนี้ใช้เงินทุนรวมอยู่ที่ 7,900,000 บาท โดยมีผลตอบแทนโครงการ (IRR) เท่ากับ 133% มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) เท่ากับ 16,684,373.38 บาท และมีระยะเวลาการคืนทุนที่ 0.66 ปี
The objective of the business plan was to examine the possibility of drinking water production under Mae-Kow-Loon brand. The plan was conducted from small and medium enterprises and household consumers. Data were analyzed using strengths, weakness, opportunities, obstacles, and competition. The findings indicated that the small and medium enterprises and household consumers realized that the price and cleanliness were the most important. The strength of the brand OEM drinking water production was cheaper cost than competitors resulting in lower minimum order quantity. However, the weakness of the business was marketing strategy and staff management. The opportunities were possible for the small and medium business of drinking water to be grown. The obstacles were the competitors. The business had an advantage of location, price, and quality of a product. The business strategy was to strengthen the brand to be equal the leading brand of drinking water and used the strategy such as marketing strategy and branding strategy. This project used a total capital of 7,900,000 Bath, with an internal rate of return (IRR) of 133%, Net Present Value (NPV) of 16,684,373.38 Bath, and the payback period was 0.66 years.
Description: การค้นคว้าอิสระ (บธ.ม)--สาขาวิชาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2559
Advisor(s): ไกรฤกษ์ ปิ่นแก้ว
URI: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/2941
Appears in Collections:Independent Studies - Master
Independent Studies

Files in This Item:

File Description SizeFormat
pichai.tunti.pdf3.73 MBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

  DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback