DSpace
 

DSpace at Bangkok University >
Graduate School >
Master Degree >
Independent Studies - Master >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/2764

Title: การศึกษาการควบรวมกิจการระหว่าง บริษัททางด่วนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และ บริษัทรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
Other Titles: A Study of Merger between Bangkok Expressway Public Company Limited and Bangkok Metro Public Company Limited
Authors: เกียรติศักดิ์ ก้อนแก้ว
Keywords: การควบรวมกิจการ
แรงผนึกทางธุรกิจ
ขนส่งและคมนาคม
Issue Date: 2560
Publisher: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Abstract: งานวิจัยนี้เป็นการวิเคราะห์ประโยชน์ และประสิทธิภาพจากการดำเนินงานก่อนและหลังควบรวมกิจการระหว่างบริษัททางด่วนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือ BECL และบริษัทรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือ BMCL โดยรวมรวบข้อมูลงบการเงินก่อนการควบรวมกิจการของทั้งสองบริษัท ระหว่างปี 2553 – 2557 และหลังควบรวมกิจการเป็นบริษัททางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือ BEM ระหว่างวันที่ 5 มกราคม 2559 – 30 มิถุนายน 2560 จากการศึกษาโดยการวิเคราะห์เชิงพรรณนาและเชิงปริมาณ พบว่าการควบรวมกิจการมีส่วนเพิ่มมูลค่าให้กับบริษัทใหม่ ทำให้บริษัทมีความแข็งแกร่งทางการเงิน ภาพลักษณ์ของบริษัทที่เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี และมีโอกาสในการเติบโตทางธุรกิจที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้ผู้ถือหุ้นมีโอกาสได้รับเงินปันผลมากขึ้น แต่ต้องเผชิญกับความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นตามมาด้วยเช่นกัน เนื่องจากเป็นกลุ่มธุรกิจที่มีความเสี่ยงในเรื่องสัมปทาน ถ้าไม่ได้ต่ออายุ หรือพลาดการได้มาของสัมปทานใหม่ๆ จากภาครัฐ รวมถึงความล่าช้าของแผนการสร้างรถไฟ จะส่งผลต่อกำไรของบริษัทได้ไม่มากก็น้อย
This study examined benefits and performance efficiency before and after the merger between Bangkok Expressway Public Company Limited (BECL) and Bangkok Metro Public Company Limited (BMCL), which later became Bangkok Expressway and Metro Public Company Limited (BEM). The analysis included relevant data on financial statements of both companies before merging from 2010 to 2014, and after merging from January 5, 2016 to June 30, 2017. By using both descriptive and quantitative analyses, the study found that the merger increased value efficiencies of the new entity, and it took the shape of stronger financial status, improved company image and higher business growth opportunity. As a consequence, investors had a better chance of getting more dividend payments. However, the new company could encounter higher risks, such as not getting a new concession, terminating of an existing concession, or delaying plan on new metro routs, which could affect the company’s profits more or less.
Description: การค้นคว้าอิสระ (วท.ม.) -- สาชาวิชาการเงิน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2560
Subjects: การรวมกิจการ
บริษัททางด่วนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) -- การรวมกิจการ
บริษัทรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) -- การรวมกิจการ
การรวมกิจการ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ
ทฤษฎีประสิทธิภาพตลาดหลักทรัพย์
ประสิทธิภาพของทุน
Advisor(s): สุมณี ศุภกรโกศัย
URI: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/2764
Appears in Collections:Independent Studies
Independent Studies - Master
Independent Studies

Files in This Item:

File Description SizeFormat
kaittisak_konk.pdf4.28 MBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

  DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback