DSpace
 

DSpace at Bangkok University >
Graduate School >
Master Degree >
Independent Studies - Master >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/2592

Title: การสร้างเครือข่ายในชุมชนออนไลน์ท่องเที่ยวแบบอิสระ: กรณีศึกษา I Roam Alone
Other Titles: The creation of an online travel social network: The case study of I roam alone
Authors: ชญาณ์นันท์ ลิ่มถาวรานันต์
Keywords: ชุมชนออนไลน์
การตลาดเชิงเนื้อหา
การท่องเที่ยว
Issue Date: 2560
Publisher: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Abstract: อินเทอร์เน็ตถือเป็นปัจจัยที่ 6 ของการดำรงชีวิตของคนในปัจจุบัน อินเทอร์เน็ตมีบทบาทในการแลกเปลี่ยนข้อมูล การสร้างความสัมพันธ์ รวมทั้งการสร้างเครือข่ายทางสังคม จะเห็นได้ว่าเครือข่ายทางสังคมถูกสร้างและขยายตัวขึ้นโดยบล็อกเกอร์ที่สร้างเนื้อหา ไม่ว่าจะเป็นประสบการณ์การเดินทาง แรงบันดาลใจ การอนุรักษ์ธรรมชาติและสัตว์ รวมทั้งความรัก โดยกลุ่มคนที่มีความสนใจในเนื้อหาจะแสดงออกด้วยการกดปุ่มถูกใจ (Like) แบ่งปัน (Share) ร่วมแสดงความคิดเห็น(Comment) ร่วมพูดคุย หรือแม้แต่การแท็กเพื่อนเพื่อให้เข้ามาร่วมพูดคุย โดยความสัมพันธ์เหล่านี้เกิดขึ้นระหว่างบล็อกเกอร์กับคนอ่าน คนอ่านกับเพื่อน รวมทั้งคนอ่านกับผู้ร่วมพูดคุยอื่นที่แม้ไม่รู้จักกันมาก่อน นอกจากนี้การแบ่งปันโพสเนื้อหาของบล็อกเกอร์ไปยังเฟซบุ๊กของตนเองส่งผลให้เกิดการขยายตัวของชุมชนออนไลน์ไปในยังในวงกว้างเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากการตลาดออฟไลน์ไปสู่การตลาดออนไลน์ในที่สุด สิ่งเหล่านี้จะส่งผลต่อเนื่องในการสร้างเครือข่ายชุมชนออนไลน์ท่องเที่ยวแบบอิสระให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนต่อไป
The Internet is the sixth basic needs of human beings. It plays the important roles of information exchange and relationship building and unsurprisingly, social networking can be created. It was found that the social network was created and expanded by the blogger generating the content including travel experiences, inspiration, natural conservation, and love on the fanpage. Then, the people who were interested in the content gave likes and conversations, tags other friends to read and chat. The relationships appeared to happen between the blogger and readers, readers and their friends, and readers and those whom they were not familiar with. Furthermore, sharing the content on their timelines was another option. This allowed the expansion of social networks from one nodes to the others. That can later on affect changes from offline to online marketing. This can contribute to building effective and sustainable travel social networking.
Description: การคนควาอิสระ (บธ.ม.)--สาขาสาขาวิชาการสื่อสารการตลาดดิจิทัล บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2559
Subjects: นักท่องเที่ยวต่างชาติ -- พฤติกรรม -- วิจัย
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- ไทย -- วิจัย
เครือข่ายสังคมแบบออนไลน์ -- ไทย
การตลาดทางอินเทอร์เน็ต -- ไทย -- การศึกษาเฉพาะกรณี
อินเทอร์เน็ต -- การใช้ประโยชน์ -- วิจัย
กลุ่มสนทนาออนไลน์ -- วิจัย
Advisor(s): ปฐมา สตะเวทิน
URI: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/2592
Appears in Collections:Independent Studies - Master

Files in This Item:

File Description SizeFormat
chayanan_limt.pdf1.49 MBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

  DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback