DSpace
 

DSpace at Bangkok University >
Graduate School >
Master Degree >
Independent Studies - Master >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/2533

Title: ศึกษาทัศนคติของผู้บริโภคที่จะใช้ดนตรีคลาสสิกเพื่อเป็นสื่อการเรียนรู้สำหรับเด็กทารก
Other Titles: The study for attitude of consumers to use classical music learning for infants
Authors: ปิติมา ชีวพันธุศรี
Keywords: ดนตรีคลาสสิก
การตั้งครรภ์
พัฒนาการด้านสติปัญญา IQ และด้านอารมณ์ EQ
Issue Date: 2560
Publisher: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Abstract: การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตั้งธุรกิจผลิตดนตรี คลาสสิกเพื่อเป็นสื่อการเรียนรู้ส าหรับเด็กทารก รวมไปถึงการศึกษาทัศนคติและพฤติกรรมของ ผู้บริโภคในเชิงส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการเลือกซื้อสินค้าและบริการของบริษัท จากการ เก็บข้อมูลในรูปแบบเชิงคุณภาพเพื่อสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้เชี่ยวชาญด้านทารกในครรภ์และข้อมูลใน รูปแบบเชิงปริมาณเพื่อส ารวจความคิดเห็นโดยใช้แบบสอบถามที่สุ่มกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 200 คน โดยเน้นกลุ่มเป้าหมายคือ คุณแม่ที่ก าลังตั้งครรภ์หรือผู้ที่เคยมีลูกมาแล้ว ตามแผนกสูตินารีใน โรงพยาบาล หรือ แผนกสินค้าแม่และเด็กในห้างสรรพสินค้า เป็นต้น ผลการศึกษาข้อมูลเชิงคุณภาพ พบว่า การใช้เสียงกระตุ้นจะท าให้การได้ยินของทารกในครรภ์มีพัฒนาการที่ดีเนื่องจากคลื่นเสียงจะไป กระตุ้นให้ระบบประสาทในส่วนของการรับฟังท างานได้เร็วขึ้นพร้อมจัดล าดับความคิดในสมองจึงท า ให้รู้สึกผ่อนคลายและจดจ าสิ่งต่างๆดีขึ้น โดยเฉพาะเพลงคลาสสิกเป็นจังหวะที่นุ่มนวลและเหมาะกับ ทารกในครรภ์มากที่สุด หากทารกที่ได้รับการกระตุ้นจากการฟังเพลงท าให้มีพัฒนาการด้านสติปัญญา (IQ) และอารมณ์ (EQ) ที่สูงกว่าทารกกลุ่มที่ไม่ได้รับการกระตุ้นอย่างชัดเจน เนื่องจากการฟังดนตรีที่ ไพเราะ จะท าให้สารแห่งความสุขหรือ “เอ็นดอร์ฟิน” (Endorphins) ของคุณแม่หลั่งออกมาพร้อม ส่งผ่านทางสายสะดือไปสู่ลูกได้ อย่างไรก็ตามเด็กทารกไม่ได้เกิดจากการกระตุ้นการเรียนรู้ของพ่อแม่ เท่านั้นแต่ยังมีอีกหลายปัจจัยที่ประกอบเข้าด้วยกันไม่ว่าจะเป็น ยีนส์ สภาพแวดล้อม และคนเลี้ยงดู นอกจากนี้เสียงพูดคุยของคุณพ่อคุณแม่จะมีส่วนช่วยส่งเสริมและพัฒนาทั้งร่างกายและจิตใจได้ดีที่สุด ด้านข้อมูลเชิงปริมาณแสดงได้เห็นว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุตั้งแต่ 28-33 ปี มี การศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี รายได้ต่อเดือนประมาณ 30,000 – 49,999 บาท และประกอบ อาชีพส่วนตัว ซึ่งส่วนใหญ่แล้วก าลังตั้งครรภ์ในช่วง 4-6 เดือน อย่างไรก็ตามแม่ตั้งครรภ์ส่วนมากเคย ฟังเพลงคลาสสิก โดยซื้อชุดหูฟังส าหรับแม่ตั้งครรภ์พร้อมกับโหลดเพลงฟรีจากเว็บไซด์ ช่วงบ่ายเป็น ช่วงที่แม่ตั้งครรภ์ฟังเพลงคลาสสิกมากที่สุดโดยใช้เวลาฟังประมาณ 1-2 ชม. เป็นอย่างต่ า ประเภท เพลงคลาสสิกที่คุณแม่ตั้งครรภ์ชอบฟังคือ “โมสาร์ท” เนื่องจากเป็นเพลงที่ฟังง่ายท าให้รู้สึกผ่อนคลาย นอกจากนี้คุณแม่ตั้งครรภ์มีความเชื่อว่าเพลงคลาสสิกจะช่วยพัฒนาสมองส าหรับเด็กทารกในครรภ์ใน ระดับปานกลางและมีความเห็นด้วยกับการถีบท้องของลูก การส่งเสียงเรียกลูก หรือ ความกังวลที่จะ ส่งผลกระทบต่อลูกในครรภ์เมื่อฟังเพลงคลาสสิก
The objectives of this research are studying the possibilities to set up the business project of The Study for Attitude of Consumers to Use Classical Music Learning for Infants, to study consumer’s attitude, behavior and marketing mix that influence the selection of product and service. The methods to collect qualitative data by using in-depth interview from Maternal Fetal Medicine Specialist, and collecting quantitative data by using survey method to distribute questionnaires to 200 samples of people on pregnant women and those who already have children at Department of Obstetrics and Gynecology in hospitals and department stores. The result of qualitative shows that using sound to fetus could improve the listening skill because the sound wave can stimulate the central auditory mechanism to work faster, including relaxation and memory system, especially classical music which has simply rhythm should be recommended. From the study, a group of fetus who listen to music could improve their IQ and EQ greater than a group who do not, because mother who listen to well-composed music will flow a feel of happiness or called “Endorphins” through umbilical cord to her fetus. However, there are many factors that result to children’s characteristic such as genes, environment and person who grow them. Moreover, the sound of mother and father talking should help developing their children’s physical and mental capability the best. The result of quantitative shows the majority of the respondents are pregnant women aged between 28-33 years old, bachelor degrees, the occupation are business owners and had incomes 30,000 – 49,999 baht per month, most of them pregnant 4-6 months. The majority of them used to listen to classical music by buying headphone for pregnancy. They are likely to listen to the music in the afternoon 1-2 hours per day. Mozart is the most liked from them. They also believe that classical helps developing moderately to fetus’s brain and agree with kicking from mother’s womb, also concerned about effect to their pregnancy when they listening classical music. The study contributes to understanding the guidelines for managing and planning business. It can be applied to practical use as a business plan following by this project.
Description: การค้นคว้าอิสระ (นศ.ม.)--สาขาวิชาการบริหารธุรกิจบันเทิงและการผลิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2559
Subjects: ดนตรีคลาสสิก
ความฉลาดทางอารมณ์
การศึกษาของเด็ก
พฤติกรรมเด็ก
พัฒนาการของเด็ก
จิตวิทยาเด็ก
เด็ก -- ระดับสติปัญญา
Advisor(s): กมลทิพย์ เตชะสกุลมาศ
ปีเตอร์ กัน
URI: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/2533
Appears in Collections:Independent Studies
Independent Studies - Master

Files in This Item:

File Description SizeFormat
pitima.chiv.pdf4.05 MBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

  DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback