DSpace
 

DSpace at Bangkok University >
Graduate School >
Master Degree >
Independent Studies - Master >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/1896

Title: ปัจจัยที่มีอิทธิพลเชิงบวกต่อความตั้งใจในการใช้บริการโมบายแบงก์กิ้ง (mobile banking) ของพนักงานธนาคาร A สำนักงานใหญ่ ในพื้นที่ถนนสีลม กรุงเทพมหานคร
Other Titles: Factors positively influencing intention to use mobile banking services of bank A’s employees at head office in Silom road, Bangkok
Authors: วริษฐา อภัยนนท์
Keywords: ความเชื่อมั่น
ความเหมาะสมกับการใช้ในชีวิตประจำวัน
ประโยชน์ที่ได้รับ
คาดหวังต่อความพยายามในการใช้งาน
ความตั้งใจในการใช้
Issue Date: 2559
Publisher: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Abstract: งานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลเชิงบวกของปัจจัยอิทธิพลด้านสังคม สังคมเดี่ยว/สังคมกลุ่ม ความเชื่อมั่น ความเหมาะสมกับการใช้ในชีวิตประจำวัน ความคุ้มค่าด้านราคา ประโยชน์ที่ได้รับ การคาดหวังต่อความพยายามในการใช้งาน การยอมรับความเสี่ยง ต้นทุนของการใช้งานที่มีผลต่อความตั้งใจในการใช้บริการโมบายแบงก์กิ้ง (Mobile Banking) ของพนักงานธนาคาร A สำนักงานใหญ่ ในพื้นที่ถนนสีลม กรุงเทพมหานคร จากแบบสอบถามจำนวน 320 ชุด ช่วงสิงหาคม ถึงเดือนกันยายน 2558 และวิเคราะห์ข้อมูลโดยความถดถอยเชิงพหุคูณพบว่ามีเพียงปัจจัยความเชื่อมั่น (β = 0.182), ความเหมาะสมกับการใช้ในชีวิตประจำวัน (β = 0.232), ประโยชน์ที่ได้รับ (β = 0.270) และการคาดหวังต่อความพยายามในการใช้งาน (β = 0.192) ที่มีอิทธิพลเชิงบวกต่อตั้งใจในการใช้ในระดับร้อยละ 55.4 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
The researcher attempted to study the positive influence of social influence, individualism/ collectivism, trust, compatibility with lifestyle, price value, perceived relative advantage, effort expectancy, perceived risk, and perceived cost towards the intention to use Mobile Banking services of bank A’s employees at head office in Silom road, Bangkok. The data was analyzed using Multiple Regression Analysis from 320 questionnaire respondents in Bangkok from August to September 2015. The researchers found that trust (β = 0.182), compatibility with lifestyle (β = 0.232), perceived relative advantage (β = 0.270) and effort expectancy (β = 0.192) had a positive explanatory power of 55.4% towards the intention to use at a .01 level of significance.
Description: การค้นคว้าอิสระ (บธ.ม.)--บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2557
Advisor(s): เพ็ญจิรา คันธวงศ์
URI: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/1896
Appears in Collections:Independent Studies - Master
Independent Studies

Files in This Item:

File Description SizeFormat
varitha_apai.pdf4.52 MBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

  DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback