DSpace
 

DSpace at Bangkok University >
Cluster of Business & Management >
School of Business Administration >
Master Degree >
Journal Articles - MBA >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/1420

Title: การศึกษาคุณภาพชีวิตในการทำงานและแนวทางในการปฎิบัติงานที่ดี ที่มีผลต่อการสร้าง แรงจูงใจต่อพนักงานระดับปฏิบัติการในเขตนิคมอุตสาหกรรมอมตะนครจังหวัดชลบุรี
Other Titles: A Study of Quality of Work Life and Work Practices Affecting Employees’ Motivation in Amata Nakorn industrial Estate
Authors: ทศพร จิรกิจวิบูลย์
Keywords: คุณภาพชีวิตในการทำงาน, แรงจูงใจในการทำงาน, แนวทางการปฏิบัติงาน
Issue Date: 2557
Publisher: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Abstract: ทรัพยากรบุคคล เป็นสิ่งที่องค์กรส่วนใหญ่ในปัจจุบันให้ความสำคัญที่สุด เพราะเป็นปัจจัยหลักในการ ผลักดันให้องค์กรมีการพัฒนาความเจริญก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง และมีความได้เปรียบในการแข่งขัน งานวิจัยนี้จึงมี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตในการทำงานและแนวทางในการปฏิบัติงานที่มีผลต่อการสร้างแรงจูงใจของ พนักงานระดับปฏิบัติการ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือพนักงานระดับปฏิบัติการในเขตนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูล เครื่องมือทางสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูลคือ สถิติเชิงพรรณนาประกอบด้วย ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วน เบี่ยงเบนมาตราฐาน (Standard deviation)ส่วนเชิงอนุมานประกอบด้วย IndependentVariable, t- test และ ANOVA โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปในการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งงานวิจัยนี้กำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการทดสอบสมมติฐานโดยใช้โดยสถิติที (t-test) และสถิติเอฟ (f-test)พบว่า ลักษณะประชากรศาสตร์ด้าน อายุ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน และอายุการทำงานที่แตกต่างกันมีผลต่อการสร้างแรงจูงใจในการทำงานที่ แตกต่างกัน และใช้การทดสอบสถิติเชิงพหุ (Multiple linear regression) ทดสอบพบว่าคุณภาพชีวิตในการทำงาน และแนวทางการปฏิบัติงานที่ดีมีอิทธิพลต่อการสร้างแรงจูงใจในการทำงานอย่างมีนัยสำคัญ
Most organizations nowadays regard human resources highly as human resources are a factor that drives continued success of and creates competitive advantages for organizations. The objective of this research is to study the impacts of quality of work life and work practices on employees’ motivation. The sample of this research included 400 employees who work at the operational level in the Amata Nakorn industrial estate. Questionnaires were used to collect data from these respondents. Descriptive statistics, including frequency, percentage, mean, and standard deviation, were employed to analyze data. Various inferential statistics, including t-test, F-test, ANOVA, and multiple regression analyses, were used to test hypotheses. The resultsindicate that the differences within each of demographic categories, including gender, education level, monthly income, and work experience, affect employees’ motivation. The multiple regression analysis indicates that quality of work life and work practices significantly affect employees’ motivation.
Description: การค้นคว้าอิสระ (บธ.ม.)--บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
URI: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/1420
Appears in Collections:Journal Articles - MBA

Files in This Item:

File Description SizeFormat
j_pawanrat.jira.pdf149.23 kBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

  DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback