DSpace
 

DSpace at Bangkok University >
Graduate School >
Master Degree >
Independent Studies - Master >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/945

Title: การคุ้มครองงานล้อเลียน (Parody) ภายใต้กฏหมายลิขสิทธิ์ของไทย
Other Titles: The protection of the parody work according to Thailand copyright act
Authors: พิชญ์สินี สุขสุดประเสริฐ, 2526-
Keywords: การคุ้มครองงานล้อเลียน
กฎหมายลิขสิทธิ์
Parody
ลิขสิทธิ์
Issue Date: 2551
Publisher: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Abstract: เนื่องจากในปัจจุบันนี้ปัญหาการละเมิดลิขสิทธิ์มีอยู่มากมายและจะมีเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ จนบางทีอาจทำให้ผู้สร้างสรรค์ผลงานเกิดความท้อแท้ไม่อยากที่จะสร้างผลงานออกมาก็เป็นไป ได้และงานที่ทำการล้อเลียนงานต้นแบบหรือที่เรียกกันว่า (พาโรดี้) ก็มีมากขึ้นกว่าแต่เมื่อก่อน ผู้เขียนจึงอยากจะนำเสนอเพราะเดี๋ยวนี้การล้อเลียนประชาชนให้ความสนใจมากเป็นพิเศษจน บางทีงานล้อเลียนสร้างความโด่งดังได้ดีกว่างานต้นแบบเสียอีกและจุดตรงนี้ที่ทำให้เกิดปัญหาก็ คือผู้สร้างสรรค์ในงานต้นแบบกลับคิดว่างานต้นแบบของตนถูกละเมิดลิขสิทธิ์จึงนำไปสู่ปัญหา การฟ้องร้องเกิดขึ้นส่วนผู้ที่ทำการล้อเลียนนั้นก็จะต่อสู้ว่าเป็นการใช้โดยชอบธรรม (แฟร์ยูส) ซึ่งตรงนี้หลักกฎหมายลิขสิทธิ์ของไทยก็ยังไม่ครอบคลุมไปถึงการล้อเลียนงานต้นฉบับคงมีแต่ ข้อยกเว้นที่ไม่เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ตามหลักทั่วไปของการใช้งานโดยชอบธรรม การศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาหาทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยได้ ทำการศึกษาเปรียบเทียบกับกฎหมายและคดีที่เกิดขึ้นในต่างประเทศที่เกี่ยวกับงานล้อเลียน ดังนั้นผู้เขียนจึงได้เสนอแนะแนวทางการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 ไว้ใน บทสุดท้าย
Nowadays, we faced a lot of infringement problems and it keeps increasing continuously. The creator loosing their will to create copyright work and somehow parody work had growth more than before. The researcher intent to present this kind of work which has special intention from the society and it can make the creator become famous easier than creator of the prototype work. The problem occur to the prototype creator because they though that this kind of action was infringed there work and they have the right to indict the parody creator. But parody creator though that they have a fair-use right which was the problem because Thailand copyright act still was not extend their protection to those parody work but only gave an exemption of the infringement which require the fair-use theory. This assertion purposed to study the solution to that problem which already studied and compared to the law and parody case which occurred in another countries. In the last chapter, the researcher put on the solution and recommendation to fix the Thailand copyright act B.E. 2537
Description: สารนิพนธ์ (น.ม.)--บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2551
Subjects: ลิขสิทธิ์ -- วรรณกรรม -- ไทย -- การศึกษาเฉพาะกรณี
ลิขสิทธิ์ -- ไทย -- การศึกษาเฉพาะกรณี
ลิขสิทธิ์ -- ศิลปกรรม -- ไทย -- การศึกษาเฉพาะกรณี
ลิขสิทธิ์ -- บทละคร -- ไทย -- การศึกษาเฉพาะกรณี
ลิขสิทธิ์ -- ประติมากรรม -- ไทย -- การศึกษาเฉพาะกรณี
การละเมิดลิขสิทธิ์ -- ไทย -- การศึกษาเฉพาะกรณี
การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา -- ไทย -- การศึกษาเฉพาะกรณี
Advisor(s): อรรยา สิงห์สงบ
วีรวิทย์ วีรวรวิทย์
URI: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/945
Appears in Collections:Independent Studies
Independent Studies - Master

Files in This Item:

File Description SizeFormat
pitsinee_suks.pdf2.34 MBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

  DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback