|
DSpace at Bangkok University >
Cluster of New Media & Design >
School of Fine and Applied Arts >
Master Degree >
Theses >
Please use this identifier to cite or link to this item:
http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/756
|
Title: | การศึกษาเกณฑ์การออกแบบเอกลักษณ์เชิงพื้นที่เพื่อการใช้สอยและรูปแบบสภาพแวดล้อมร้านค้าแบบแฟรนไชส์ : กรณีศึกษา ร้านไอศครีมสเวนเซ่นส์ |
Other Titles: | A spatial and atmospheric identity guideline for franchise functional and environmental design : a case of Swensen's Parlor |
Authors: | ชนิดา ภู่อุดมศักดิ์ |
Keywords: | การออกแบบร้านไอศครีม ร้านไอศครีมสเวนเซ่นส์ ร้านค้าแฟรนไชส์ |
Issue Date: | 2551 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยกรุงเทพ |
Abstract: | การศึกษาและการออกแบบภายในบ้านพักอาศัยในงานวิจัยนี้ ได้ศึกษาถึงสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
และพฤติกรรมของผู้อยู่อาศัยภายในบ้าน และ นำแนวคิดการออกแบบเพื่อความยั่งยืนเพื่อนำมามาผสมผสานใน
การเสนอเป็นแนวทางการออกแบบภายในบ้านพักอาศัย การศึกษาได้ทำการศึกษา 2 ส่วน คือ การศึกษาและ
สำรวจสภาพแวดล้อมทางกายภาพและพฤติกรรมของผู้อยู่อาศัยภายในบ้าน โดยศึกษาตัวแปรเกี่ยวกับลักษณะ
และความต้องการ สภาพแวดล้อมทางกายภาพของที่อยู่อาศัย ขนาดและองค์ประกอบของครอบครัว พฤติกรรม
การอยู่อาศัย ซึ่งได้ทำการสำรวจจากโครงการหมู่บ้านชัยพฤกษ์ โดยทำการจัดกลุ่มบ้าน เลือกบ้านที่อยู่ในความ
นิยมและมีการนำแบบไปสร้างต่อในโครงการอื่นๆ และส่วนที่ 2 ศึกษาองค์ประกอบของแนวคิดการออกแบบ
สถาปัตยกรรมเพื่อความยั่งยืน ซึ่งคำนึงถึงหลัก 4 ประการ คือ วัสดุ พลังงาน น้ำ และ คุณภาพอากาศ เพื่อนำ
ผลจากการศึกษามาทำการออกแบบภายใน เพื่อตอบสนองพฤติกรรมการอยู่อาศัยและเป็นไปตามหลักของการ
ออกแบบเพื่อความยั่งยืน โดยคำนึงถึงการใช้พลังงานให้น้อยลง เลือกใช้วัสดุที่เป็นมิตรต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
มีการวางระบบสุขาภิบาลที่ดี และการเปิดช่องระบายอากาศภายในบ้านให้มีการถ่ายเทที่ดีและส่งเสริมภาวะน่า
สบายภายในที่อยู่อาศัย และมีความสอดคล้องกับลักษณะทางกายภาพและพฤติกรรมการอยู่อาศัย
สรุปผลประเมินการออกแบบที่อยู่อาศัยโดยนำ แบบประเมินอาคารประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อ
สิ่งแวดล้อม รุ่น R 49.00 (22/09/49) ของกระทรวงพลังงาน มาใช้ในงานวิจัยนี้ พบว่าผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ได้
คะแนนด้านการประหยัดพลังงาน 72 จาก 100 คะแนน และด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม 25 จาก33
คะแนน เป็นคะแนนที่อยู่ในกลุ่มบ้านประหยัดพลังงานดีเด่น ผลของการศึกษานี้สามารถใช้เป็นแนวทางการ
ออกแบบภายในบ้านพักอาศัยที่สอดคล้องกับพฤติกรรมการอยู่อาศัยและสถาปัตยกรรมเพื่อความยั่งยืน With many of the Swensen’s Franchise more than 110 across the country, and
with the marketing issue we clearly see that the design of the store and shop have the
impact on those important function to add more value to the Franchise .now we will
looking forward to research, study and redesign the store to improve and hopefully will
increase the value of the store base on customer satification . Two dimensions of
franchise environmental design were investigated. First, the spatial configuration of floor
plans; the seating arrangement, size and location of service station, types of furniture
were examined, categorized into groups, and analyzed. Activities, area requiring in
each activity, and behaviors occur in Swensen’s parlor were measured by BME (Body
Motion Envelop) method and the observation method. Digital camera was also used in
the investigation. Design guideline for the parlor’s floor plan, the utilization and the size
of service counter could be recommended from the study. Second, the ambient
appearance of the selling space was investigated to assess the perception of physical
environment that staff and customers perceived. Features to be explored include color,
material usage, lighting, decoration, interior design, furniture style, and proportion of
graphical walls. The results from the dimension of spatial configuration showed that of
the whole area, 69.51 % should be service area, 17.29% should be servery counter, and
13.20% should be back of house area. The width of ice-cream counter should be 1.00 –
1.20 meter. In regard of types of furniture, customers prefer sofa seating the most, booth
the second, and chair seating the third. The results from the dimension of ambient
appearance of selling space showed that of the whole area, 35.79 % of lighting should
be natural. On artificial light, each parlor should provide both spot and spread lighting.
On proportion of wall materials, the most percentage was graphical material, the second
most was tile, the third was wooden frame, and the forth and the fifth order were mirror
and transparent glass. On the using of color, the most percentage was warm color, the
second most was cool color, and the third and the forth order were neutral color and no
color. In conclusion, the results from this research could be the guideline for design
development and modification of floor plans or spatial configuration of Swensen’s parlor.
Besides, it could be further guideline for the environmental management for Swensen’s
parlor. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2551 |
Subjects: | ร้านไอศกรีม--การออกแบบ--วิจัย |
Advisor(s): | นภดล สหชัยเสรี พีรดร แก้วลาย |
URI: | http://dspace2.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/756 |
Appears in Collections: | Theses Theses
|
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.
|