DSpace
 

DSpace at Bangkok University >
Institute of Research and Innovation Development >
Research Reports >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/3499

Title: รูปแบบการยอมรับ e-Learning กรณีศึกษา: นักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Other Titles: Model of e-learning adoption: Case study in Bangkok University undergraduate students
รายงานการวิจัยเรื่อง รูปแบบการยอมรับ e-Learning กรณีศึกษา: นักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Authors: วิไลลักษณ์ เสรีตระกูล
Keywords: อี-เลิร์นนิ่ง--วิจัย
อินเตอร์เน็ตในการศึกษา--วิจัย
คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน--วิจัย
แบบเรียนสำเร็จรูป--วิจัย
ระบบการเรียนการสอน -- การออกแบบ
วิไลลักษณ์ เสรีตระกูล -- ผลงานวิจัย
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ--ผลงานวิจัย
Issue Date: 2548
Publisher: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Abstract: การเรียนการสอนในระบบ e-Learning เป็นวิธีเรียนที่ได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน เนื่องจากเป็นวิธีการที่จะได้รับประโยชน์ทั้งผู้สอนและผู้เรียน การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับ ซึ่งวัดได้จากความตั้งใจที่จะใช้ และความต่อเนื่องในการใช้ระบบ e-Learning ของนักศึกษา โดยนำโมเดลการยอมรับเทคโนโลยี (Technology Acceptance Model หรือ TAM) มาประยุกต์ใช้ กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยนี้ เป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยกรุงเทพ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์เส้นทาง ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจที่จะใช้ระบบ e-Learning ประกอบด้วยปัจจัยภายนอก ได้แก่ ประสบการณ์ในการใช้คอมพิวเตอร์ จำนวนชั่วโมงที่ใช้คอมพิวเตอร์ต่อสัปดาห์ ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ ทักษะการใช้อินเทอร์เน็ต และปัจจัยทางจิตวิทยา ได้แก่ การรับรู้ความง่ายในการใช้งาน การรับรู้ประโยชน์จากการใช้ และทัศนคติที่มีต่อ e-Learning ซึ่งผลการวิจัยยืนยันแนวคิดตามโมเดลการยอมรับเทคโนโลยี TAM คือ การรับรู้ความง่ายในการใช้มีอิทธิพลต่อความตั้งใจที่จะใช้ และ มีอิทธิพลต่อความต่อเนื่องในการใช้ e-Learning อย่างไรก็ตามการรับรู้ประโยชน์จากการใช้ มีอิทธิพลต่อความตั้งใจที่จะใช้ แต่ไม่มีอิทธิพลต่อความต่อเนื่องในการใช้ e-Learning
E-Learning has gained popularity in universities worldwide. It is a method that is known as advantageous for both the teachers and students. The purpose of the study was to use the Technology Acceptance Model or TAM to determine the factors that influence the students’ adoption which measured by student’s intention to use and continuous usage of e-learning. Bangkok University undergraduate students from across the disciplines were randomly selected. By using Path Analysis, it was found that the variables influencing on the students’ intention to use e-learning were as follow; the students’ computer experience, computer skills, Internet skills, the number of hours of computer use per week. And psychological factor; perceived usefulness, perceived ease of use, and attitude towards e-learning. The result of the study supported the TAM. The perceived ease of use had an influence on the students’ intention to use and continuous usage of e-learning. However the perceived usefulness there were no influence on continuous usage of e-Learning.
URI: http://dspace.bu.ac.th/jspui/handle/123456789/3499
Appears in Collections:Research Reports

Files in This Item:

File Description SizeFormat
wilailuk_sari.pdf4.59 MBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

  DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback